‘เพราะโลกร้อน ตัวอักษรจึงละลาย’ สื่อสารปัญหาโลกร้อนด้วยฟอนต์ตัวแทนน้ำแข็งขั้วโลก

‘เพราะโลกร้อน ตัวอักษรจึงละลาย’ สื่อสารปัญหาโลกร้อนด้วยฟอนต์ตัวแทนน้ำแข็งขั้วโลก

โลกร้อน

เคยจินตนาการไหมว่าฟอนต์ที่เราใช้และเห็นกันอยู่ทุกวัน จะสามารถกระตุกเตือนใจให้นึกถึงภาวะโลกร้อนขึ้นมาได้

Helsingin Sanomat หนังสือพิมพ์จากเจ้าหนึ่งของประเทศฟินแลนด์  ได้พัฒนาฟอนต์ที่มีชื่อว่า Climate Crisis ขึ้นมา โดยหวังสร้างการตระหนักรู้อย่างเร่งด่วนถึงภาวะการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ด้วยการสะท้อนปริมาณน้ำแข็งในทะเลอาร์กติกที่ลดลงเรื่อยๆ ผ่านรูปแบบตัวอักษรที่ค่อยๆ เว้าแหว่งไป

ปกติแล้วฟอนต์ทั่วๆ ไปจะปรับได้แค่ความหนาหรือตัวเอียง แต่ความพิเศษของฟอนต์ Climate Crisis นั้น ผู้ใช้สามารถปรับน้ำหนักรูปแบบตัวอักษรด้วยการเลื่อนไทม์สเกล ซึ่งน้ำหนักที่แตกต่างกันของฟอนต์คือการแทนปริมาณน้ำแข็งในทะเลอาร์กติก โดยคุณจะเลือกปีไหนก็ได้ในช่วง 1979-2050 เนื่องจากปี 1979 เป็นปีที่มีการตรวจน้ำแข็งในทะเลอาร์กติกด้วยดาวเทียมครั้งแรก และในปี 2050 ได้มีการคาดการณ์ว่าน้ำแข็งจะหดตัวลงถึง 30 เปอร์เซ็นต์ 

ด้วยเหตุนี้ รูปแบบตัวฟอนต์ที่เป็นส่วนบางและส่วนโค้ง ซึ่งเป็นสิ่งที่ Tuomas Jääskeläinen อาร์ตไดเรกเตอร์ของ Helsingin Sanomat อธิบายว่าเป็นขอบคมน้ำแข็ง จะค่อยๆ ไล่ความหนาที่สุดจนมาบางที่สุดตามปีที่ผ่านพ้น ราวกับว่ามันละลายหายไปหรือจมลงในมหาสมุทรนั่นเอง

แต่ความหนาความบางของตัวอักษรนั้นไม่ได้เกิดขึ้นมาลอยๆ เพราะด้วยความที่ Helsingin Sanomat เป็นหนังสือพิมพ์ที่มีบทบาทเป็นสื่อมวลชน พวกเขาจึงออกแบบฟอนต์ Climate Crisis โดยอิงกับข้อมูลในอดีตจากศูนย์ข้อมูลหิมะและน้ำแข็งแห่งชาติของสหรัฐอเมริกา (NSIDC) ตลอดจนการคาดการณ์ในอนาคตจากข้อมูลของคณะกรรมการระหว่างรัฐบาลว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (IPCC) ขนาดในปี 2000 รูปแบบฟอนต์ยังแสดงให้เห็นถึงการฟื้นตัวเล็กน้อยของน้ำแข็งในทะเลตามข้อมูล

Helsingin Sanomat คาดหวังว่าฟอนต์ของพวกเขาจะทำให้ผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศเห็นได้เป็นรูปธรรม ทั้งนี้ ทีมผู้จัดทำได้เปิดให้ดาวน์โหลดฟอนต์ได้ฟรี เพื่อที่นักออกแบบและองค์กรข่าวอื่นๆ จะนำไปใช้ในการเล่าเรื่องเกี่ยวกับภาวะโลกร้อนได้อย่างทรงพลังขึ้นต่อไป

แหล่งข้อมูล: www.dezeen.com

ปกติแล้วฟอนต์ทั่วๆ ไปจะปรับได้แค่ความหนาหรือตัวเอียง แต่ความพิเศษของฟอนต์ Climate Crisis นั้น ผู้ใช้สามารถปรับน้ำหนักรูปแบบตัวอักษรด้วยการเลื่อนไทม์สเกล ซึ่งน้ำหนักที่แตกต่างกันของฟอนต์คือการแทนปริมาณน้ำแข็งในทะเลอาร์กติก โดยคุณจะเลือกปีไหนก็ได้ในช่วง 1979-2050 เนื่องจากปี 1979 เป็นปีที่มีการตรวจน้ำแข็งในทะเลอาร์กติกด้วยดาวเทียมครั้งแรก และในปี 2050 ได้มีการคาดการณ์ว่าน้ำแข็งจะหดตัวลงถึง 30 เปอร์เซ็นต์
แล้วฟอนต์ทั่วๆ ไปจะปรับได้แค่ความหนาหรือตัวเอียง แต่ความพิเศษของฟอนต์ Climate Crisis นั้น ผู้ใช้สามารถปรับน้ำหนักรูปแบบตัวอักษรด้วยการเลื่อนไทม์สเกล ซึ่งน้ำหนักที่แตกต่างกันของฟอนต์คือการแทนปริมาณน้ำแข็งในทะเลอาร์กติก โดยคุณจะเลือกปีไหนก็ได้ในช่วง 1979-2050 เนื่องจากปี 1979 เป็นปีที่มีการตรวจน้ำแข็งในทะเลอาร์กติกด้วยดาวเทียมครั้งแรก และในปี 2050 ได้มีการคาดการณ์ว่าน้ำแข็งจะหดตัวลงถึง 30 เปอร์เซ็นต์
ทั่วๆ ไปจะปรับได้แค่ความหนาหรือตัวเอียง แต่ความพิเศษของฟอนต์ Climate Crisis นั้น ผู้ใช้สามารถปรับน้ำหนักรูปแบบตัวอักษรด้วยการเลื่อนไทม์สเกล ซึ่งน้ำหนักที่แตกต่างกันของฟอนต์คือการแทนปริมาณน้ำแข็งในทะเลอาร์กติก โดยคุณจะเลือกปีไหนก็ได้ในช่วง 1979-2050 เนื่องจากปี 1979 เป็นปีที่มีการตรวจน้ำแข็งในทะเลอาร์กติกด้วยดาวเทียมครั้งแรก และในปี 2050 ได้มีการคาดการณ์ว่าน้ำแข็งจะหดตัวลงถึง 30 เปอร์เซ็นต์
ปรับได้แค่ความหนาหรือตัวเอียง แต่ความพิเศษของฟอนต์ Climate Crisis นั้น ผู้ใช้สามารถปรับน้ำหนักรูปแบบตัวอักษรด้วยการเลื่อนไทม์สเกล ซึ่งน้ำหนักที่แตกต่างกันของฟอนต์คือการแทนปริมาณน้ำแข็งในทะเลอาร์กติก โดยคุณจะเลือกปีไหนก็ได้ในช่วง 1979-2050 เนื่องจากปี 1979 เป็นปีที่มีการตรวจน้ำแข็งในทะเลอาร์กติกด้วยดาวเทียมครั้งแรก และในปี 2050 ได้มีการคาดการณ์ว่าน้ำแข็งจะหดตัวลงถึง 30 เปอร์เซ็นต์
Climate Crisis นั้น ผู้ใช้สามารถปรับน้ำหนักรูปแบบตัวอักษรด้วยการเลื่อนไทม์สเกล ซึ่งน้ำหนักที่แตกต่างกันของฟอนต์คือการแทนปริมาณน้ำแข็งในทะเลอาร์กติก โดยคุณจะเลือกปีไหนก็ได้ในช่วง 1979-2050 เนื่องจากปี 1979 เป็นปีที่มีการตรวจน้ำแข็งในทะเลอาร์กติกด้วยดาวเทียมครั้งแรก และในปี 2050 ได้มีการคาดการณ์ว่าน้ำแข็งจะหดตัวลงถึง 30 เปอร์เซ็นต์
ผู้ใช้สามารถปรับน้ำหนักรูปแบบตัวอักษรด้วยการเลื่อนไทม์สเกล ซึ่งน้ำหนักที่แตกต่างกันของฟอนต์คือการแทนปริมาณน้ำแข็งในทะเลอาร์กติก โดยคุณจะเลือกปีไหนก็ได้ในช่วง 1979-2050 เนื่องจากปี 1979 เป็นปีที่มีการตรวจน้ำแข็งในทะเลอาร์กติกด้วยดาวเทียมครั้งแรก และในปี 2050 ได้มีการคาดการณ์ว่าน้ำแข็งจะหดตัวลงถึง 30 เปอร์เซ็นต์
แค่ความหนาหรือตัวเอียง แต่ความพิเศษของฟอนต์ Climate Crisis นั้น ผู้ใช้สามารถปรับน้ำหนักรูปแบบตัวอักษรด้วยการเลื่อนไทม์สเกล ซึ่งน้ำหนักที่แตกต่างกันของฟอนต์คือการแทนปริมาณน้ำแข็งในทะเลอาร์กติก โดยคุณจะเลือกปีไหนก็ได้ในช่วง 1979-2050 เนื่องจากปี 1979 เป็นปีที่มีการตรวจน้ำแข็งในทะเลอาร์กติกด้วยดาวเทียมครั้งแรก และในปี 2050 ได้มีการคาดการณ์ว่าน้ำแข็งจะหดตัวลงถึง 30 เปอร์เซ็นต์
ปรับได้แค่ความหนาหรือตัวเอียง แต่ความพิเศษของฟอนต์ Climate Crisis นั้น ผู้ใช้สามารถปรับน้ำหนักรูปแบบตัวอักษรด้วยการเลื่อนไทม์สเกล ซึ่งน้ำหนักที่แตกต่างกันของฟอนต์คือการแทนปริมาณน้ำแข็งในทะเลอาร์กติก โดยคุณจะเลือกปีไหนก็ได้ในช่วง 1979-2050 เนื่องจากปี 1979 เป็นปีที่มีการตรวจน้ำแข็งในทะเลอาร์กติกด้วยดาวเทียมครั้งแรก และในปี 2050 ได้มีการคาดการณ์ว่าน้ำแข็งจะหดตัวลงถึง 30 เปอร์เซ็นต์
ฟอนต์ Climate Crisis นั้น ผู้ใช้สามารถปรับน้ำหนักรูปแบบตัวอักษรด้วยการเลื่อนไทม์สเกล ซึ่งน้ำหนักที่แตกต่างกันของฟอนต์คือการแทนปริมาณน้ำแข็งในทะเลอาร์กติก โดยคุณจะเลือกปีไหนก็ได้ในช่วง 1979-2050 เนื่องจากปี 1979 เป็นปีที่มีการตรวจน้ำแข็งในทะเลอาร์กติกด้วยดาวเทียมครั้งแรก และในปี 2050 ได้มีการคาดการณ์ว่าน้ำแข็งจะหดตัวลงถึง 30 เปอร์เซ็นต์
แต่ความพิเศษของฟอนต์ Climate Crisis นั้น ผู้ใช้สามารถปรับน้ำหนักรูปแบบตัวอักษรด้วยการเลื่อนไทม์สเกล ซึ่งน้ำหนักที่แตกต่างกันของฟอนต์คือการแทนปริมาณน้ำแข็งในทะเลอาร์กติก โดยคุณจะเลือกปีไหนก็ได้ในช่วง 1979-2050 เนื่องจากปี 1979 เป็นปีที่มีการตรวจน้ำแข็งในทะเลอาร์กติกด้วยดาวเทียมครั้งแรก และในปี 2050 ได้มีการคาดการณ์ว่าน้ำแข็งจะหดตัวลงถึง 30 เปอร์เซ็นต์
ฟอนต์ทั่วๆ ไปจะปรับได้แค่ความหนาหรือตัวเอียง แต่ความพิเศษของฟอนต์ Climate Crisis นั้น ผู้ใช้สามารถปรับน้ำหนักรูปแบบตัวอักษรด้วยการเลื่อนไทม์สเกล ซึ่งน้ำหนักที่แตกต่างกันของฟอนต์คือการแทนปริมาณน้ำแข็งในทะเลอาร์กติก โดยคุณจะเลือกปีไหนก็ได้ในช่วง 1979-2050 เนื่องจากปี 1979 เป็นปีที่มีการตรวจน้ำแข็งในทะเลอาร์กติกด้วยดาวเทียมครั้งแรก และในปี 2050 ได้มีการคาดการณ์ว่าน้ำแข็งจะหดตัวลงถึง 30 เปอร์เซ็นต์
ทั่วๆ ไปจะปรับได้แค่ความหนาหรือตัวเอียง แต่ความพิเศษของฟอนต์ Climate Crisis นั้น ผู้ใช้สามารถปรับน้ำหนักรูปแบบตัวอักษรด้วยการเลื่อนไทม์สเกล ซึ่งน้ำหนักที่แตกต่างกันของฟอนต์คือการแทนปริมาณน้ำแข็งในทะเลอาร์กติก โดยคุณจะเลือกปีไหนก็ได้ในช่วง 1979-2050 เนื่องจากปี 1979 เป็นปีที่มีการตรวจน้ำแข็งในทะเลอาร์กติกด้วยดาวเทียมครั้งแรก และในปี 2050 ได้มีการคาดการณ์ว่าน้ำแข็งจะหดตัวลงถึง 30 เปอร์เซ็นต์
ด้วยเหตุนี้ รูปแบบตัวฟอนต์ที่เป็นส่วนบางและส่วนโค้ง ซึ่งเป็นสิ่งที่ Tuomas Jääskeläinen อาร์ตไดเรกเตอร์ของ Helsingin Sanomat อธิบายว่าเป็นขอบคมน้ำแข็ง จะค่อยๆ ไล่ความหนาที่สุดจนมาบางที่สุดตามปีที่ผ่านพ้น ราวกับว่ามันละลายหายไปหรือจมลงในมหาสมุทรนั่นเอง
แต่ความหนาความบางของตัวอักษรนั้นไม่ได้เกิดขึ้นมาลอยๆ เพราะด้วยความที่ Helsingin Sanomat เป็นหนังสือพิมพ์ที่มีบทบาทเป็นสื่อมวลชน พวกเขาจึงออกแบบฟอนต์ Climate Crisis โดยอิงกับข้อมูลในอดีตจากศูนย์ข้อมูลหิมะและน้ำแข็งแห่งชาติของสหรัฐอเมริกา (NSIDC) ตลอดจนการคาดการณ์ในอนาคตจากข้อมูลของคณะกรรมการระหว่างรัฐบาลว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (IPCC) ขนาดในปี 2000 รูปแบบฟอนต์ยังแสดงให้เห็นถึงการฟื้นตัวเล็กน้อยของน้ำแข็งในทะเลตามข้อมูล

AUTHOR