“จงภูมิใจว่าฉันไม่เหมือนคนอื่น” บรูซ แกสตัน

บรูซ แกสตัน

(บทสัมภาษณ์นี้ตีพิมพ์ครั้งแรกใน a day 176 ฉบับเบิร์ด–ธงไชย แมคอินไตย์ เดือนเมษายน 2015)

“อย่าถามว่าทำไมผมมาเมืองไทย อย่าเลย ช่วยถามให้ซ่าๆ หน่อย”

บรูซ แกสตัน

นั่นคือประโยคแรกที่อาจารย์บรูซ แกสตัน บอกเราก่อนที่บทสนทนาจะเริ่มต้น แม้วัยจะอยู่ในช่วงปลายเลข 6 แต่เขายังคงเบื่อในความซ้ำซากจำเจ เขาว่าจะสร้างสรรค์สิ่งใดสิ่งนั้นต้องสด ใหม่ และแตกต่าง ไม่ใช่ถอดออกมาเป็นพิมพ์เดียวกัน แม้กระทั่งบทสนทนา

วัยเยาว์

อาจารย์บรูซเกิดและเติบโตที่ประเทศสหรัฐอเมริกา หลงรักดนตรีมาตั้งแต่วัยเยาว์ ร้องเล่นเป็นลมหายใจ จนกระทั่งชีวิตหักเหให้มาสอนดนตรีที่ประเทศไทยตอนอายุ 22 ก่อนจะก่อตั้งวงดนตรีไทยร่วมสมัยที่ชื่อ ฟองน้ำ ร่วมกับครูบุญยงค์ เกตุคง

ในสายตาของผู้มาอาศัย กิน นอน ใช้ชีวิต อยู่ประเทศไทยมาเกือบ 40 ปี เขามองเห็นความเปลี่ยนแปลงบางประการที่อาจดูเล็กน้อย แต่สำหรับเขาเป็นเรื่องใหญ่ นั่นคือคนไทยสบตากันน้อยลง

“เมื่อก่อนอยู่บนรถเมล์ คนไม่มีโทรศัพท์มือถือ ขึ้นรถแล้วก็มองกัน เขาเป็นใครนะ มองแล้วกลับมามองอีก สมัยนี้ไม่มีใครมองใครเลย มีแต่ก้มหน้ากดโทรศัพท์ ไม่มีการสื่อสารกัน เวลาเรามองกันเรามีโอกาสตกหลุมรักกัน หรืออย่างน้อยมีสายสัมพันธ์กัน มีการสื่อกันตลอด สนุกกว่าไปอยู่กับโทรศัพท์ เพราะว่าเป็นการสื่อสารระหว่างคนกับคน สมัยนี้พอมีเครื่องไม้เครื่องมือสื่อสารมันลบล้างสิ่งเหล่านี้ออกไป ตอนนี้ไม่มีการสื่อสารระหว่างคนกับคนอีกแล้ว คุณขึ้นรถไฟฟ้า คุณกดโทรศัพท์อย่างเดียว ไม่รู้ว่ามีใครอื่นในขบวน เราเป็นสังคมนะ เราต้องรู้จักกัน มองกันเล็กๆ น้อยๆ ก็ยังสนุกกว่าก้มหน้ากดโทรศัพท์ เวลาขึ้นรถไฟฟ้าผมไม่เล่นหรอก ผมมองคนเดียวก็ได้ ผมอยากเป็นคนเก่าคนแก่” สิ้นประโยคเขาหัวเราะสดชื่น

แม้วันเวลาที่ผ่านไปอาจทำให้ริ้วรอยปรากฏบนผิวกาย แต่ไม่อาจเปลี่ยนแปลงความเชื่อภายในหัวใจของศิลปินผู้นี้

เขาเชื่อเสมอมาว่ามนุษย์เราทุกคนไม่จำเป็นต้องเหมือนกัน

มนุษย์เราทุกคนไม่จำเป็นต้องเหมือนกัน

“ผมอยากจะเห็นความหลากหลายของเด็ก” ศิลปินสัญชาติอเมริกันพูดด้วยภาษาไทยชัดเจน “ทุกวันนี้โรงเรียนพยายามสอนให้ทุกคนเป็นเหมือนกัน ทุกคนต้องไปสอบเหมือนกัน ต้องเป็นพิมพ์เดียวกันออกมา แล้วถ้าหากมีเด็กสักคนที่มีปัญหาในโรงเรียนเพราะว่าเขาไม่เหมือนเพื่อน คุณครูก็จะพยายามตำหนิว่าทำไมไม่อยู่ในกฎในกรอบ แทนที่จะส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์ คนนี้ไปทางนี้ คนนั้นไปอีกทาง

บรูซ แกสตัน

“ผมมีตัวอย่างหนึ่งอยากเล่าให้ฟัง เรื่องนี้เกิดขึ้นที่ประเทศอังกฤษ มีเด็กคนหนึ่งเรียนแย่มาก จนกระทั่งพ่อแม่นึกว่าเขาอาจจะเป็นโรคจิตหรือมีปัญหาทางสมอง เพราะสอบตกตลอด พ่อแม่จึงพาไปหาจิตแพทย์ จิตแพทย์สัมภาษณ์เด็กนิดนึง แล้วบอกว่าให้เด็กรอในห้อง ขอออกไปปรึกษากับพ่อแม่ข้างนอก แล้วหมอก็เปิดเพลงทิ้งไว้ ออกไปสังเกตการณ์ข้างนอก พอเด็กอยู่คนเดียว เขาลุกขึ้นมาเต้นอย่างสวยงามมากๆ จิตแพทย์จึงแนะนำแม่ของเด็กว่า ลูกของคุณมีเซนส์ทางด้านการเคลื่อนไหวร่างกาย เขามีความสุขและมีความเข้าใจอย่างลึกซึ้ง ถามว่าทำไมเขาต้องอยู่ในโลกส่วนตัว เพราะในโรงเรียนมีแต่คนด่าว่าเขาโง่คณิตศาสตร์ หรือวิชาอื่นๆ ที่เขาทำไม่ได้ ไม่มีใครคิดว่าเขาอาจจะมีเซนส์ในด้านอื่นๆ ทุกคนต้องอยู่ในแนวเดียวกัน เดินแถวเดียวกัน หลังจากวันนั้นแม่ของเด็กคนนั้นเปลี่ยนหมดเลย พาไปเข้าโรงเรียนสอนการเต้น ทั้งบัลเลต์ และการเต้นแบบต่างๆ แล้วคุณรู้ไหม เด็กคนนั้นกลายเป็นคนออกแบบท่าเต้นละครบรอดเวย์ที่ดังที่สุด กลายเป็นอัจฉริยะไปเลย ย้อนกลับไป ถ้าเขาอยู่โรงเรียน โรงเรียนจะบอกว่าเขาโง่ เป็นเด็กมีปัญหา แต่ความจริงเด็กไม่ได้มีปัญหา เขาเพียงแต่มีความสามารถอีกทางหนึ่ง

“ผมอยากจะบอกวัยรุ่นว่าอย่าท้อใจ ถ้าหากว่าคนอื่นมองไม่เห็นคุณค่าของเรา อย่าคิดว่าตัวเองโง่ แสวงหาหนทางของตัวเอง เราอาจพบว่าเรามีความสามารถที่ไม่เหมือนกับคนอื่น สิ่งสำคัญคือ อย่าว่าตัวเอง ว่าฉันไม่มีค่า เราต้องมองคนแต่ละคนเป็นคนละคน เราไม่เหมือนกัน โลกเรามีความหลากหลาย เราต้องหาทางที่เป็นธรรมชาติของตัวเอง เราต้องมีความเป็นปัจเจกบุคคล วัยรุ่นไม่รู้จักคำนี้นะ แต่ว่าเป็นเรื่องที่สำคัญมาก ปัจเจกบุคคลหมายความว่า ฉันไปในหนทางของฉัน ซึ่งมันเกี่ยวกับพรหมลิขิต เกี่ยวกับดีเอ็นเอ เกี่ยวกับกรรมพันธุ์ เกี่ยวกับอะไรต่างๆ ที่ทำให้แต่ละคนไม่เหมือนกัน แล้วก็จงภาคภูมิใจว่าฉันไม่เหมือนกับคนอื่น”

หากย้อนไปในวัยเยาว์ ความแตกต่างเคยสร้างบาดแผลในหัวใจเขา เมื่อย้อนเล่าถึงเหตุการณ์นั้นน้ำตายังคงคลออยู่ที่ดวงตา แต่เขาก็ยืนยันว่าเราต้องสู้ ต้องฝ่าฟัน ต้องอย่ายอม

“ชีวิตผมผ่านมาโดยความยากลำบาก ผมแตกต่างมาก และยังเจ็บปวดใจถึงทุกวันนี้ ที่อเมริกาตอนเรียนมัธยมเขาจะเล่นเบสบอลกัน วิธีการแบ่งทีมของเขาคือ คนเก่ง 2 คนที่เป็นกัปตันของทีมจะเป็นผู้เลือกคนเข้าทีม จนกระทั่งเหลือผมคนเดียวที่ไม่มีใครเอาเลย เพราะอะไร เพราะว่าผมใช้เวลาหัดเปียโน ทำให้ผมเล่นกีฬาไม่เป็น ขายหน้าบ่อยมากเรื่องนี้ แต่ว่าผมรักดนตรี เพราะผมไม่เหมือนกับเขา แล้วเจ็บไหมล่ะ

“เจ็บ แต่ผมไม่ยอม” เขาตอบตัวเอง

“แล้วสิ่งสำคัญที่เรียนรู้จากการเป็นคนที่แตกต่างจากคนอื่นมาตลอดชีวิตคืออะไร” ผมถามเขาก่อนเราแยกย้ายจากกัน

วงการดนตรี

“อย่าสงสารตัวเอง ผมมีชีวิตเป็นศิลปิน มีคนด่าผมตลอดชีวิตตอนที่มาเมืองไทย ทำวงดนตรีฟองน้ำก็มีคนว่าผมทำลายครูบาอาจารย์ ทำลายวัฒนธรรมไทย ถ้าผมเกิดคิดน้อยใจ สงสารตัวเอง ผมแพ้ไปแล้ว แล้วกลายเป็นว่าตอนนี้ ผมกลายเป็นคนที่สร้างสายสัมพันธ์ระหว่างคนสมัยใหม่กับดนตรีไทยเดิม

“เพราะฉะนั้น อย่าสงสารตัวเอง”

ด้วยเอกลักษณ์ผลงานที่ประกอบด้วยผู้หญิง สายตาของตัวละคร และความเหนือจริงที่ถ่ายทอดผ่านสไตล์การวาดที่มีกลิ่นอายของศิลปะเอเชียแบบดั้งเดิม ทำให้เราจดจำชื่อของนักวาดสาวคนนี้ได้ไม่ยาก แต่ถ้าหากย้อนกลับไปดูผลงานช่วงแรกๆ ของเธอ คุณอาจประหลาดใจ เพราะภาพวาดส่วนใหญ่เป็นแนวการ์ตูนตาหวานราวกับคนละคน
“จุดเปลี่ยนคงเริ่มมาจากความชอบที่เปลี่ยนไปตามกาลเวลานี่แหละ พอเราได้เติบโต ลองผิดถูกมาเรื่อยๆ ก็ได้รู้ว่าอะไรที่เข้ากับเรามากที่สุด สุดท้ายมันก็ตกผลึกมาเป็นลายเส้นเราในทุกวันนี้” บิวเล่า
ก่อนจะมาเป็นนักเรียนศิลปะอย่างเต็มตัว ในวัยเด็กบิวคือเด็กหญิงที่อ้อนแม่ให้ซื้อการ์ตูนมือสองจากแผงร้านหนังสือเวลาไปเดินตลาดนัดทุกครั้ง จากความชอบนี้เองทำให้เธอฝึกวาดภาพจนเพื่อนที่โรงเรียนชื่นชมผลงาน ผลักดันให้เธอเริ่มจริงจังกับการวาดภาพมากขึ้น
“ตั้งแต่จำความได้เราก็เติบโตโดยมีมังงะญี่ปุ่นอยู่ด้วยแทบทุกช่วงของชีวิต และจากความคลั่งไคล้ในลายเส้นของฝั่งเอเชียนี่แหละที่ค่อนข้างส่งผลกับภาพวาดเราอยู่พอสมควร ผลงานส่วนมากของเราเลยมีกลิ่นอายความเป็นเอเชียซะส่วนใหญ่ แต่เราก็ไม่กล้าบอกว่างานเราดูมีความญี่ปุ่นเท่าไหร่หรอก เรียกว่าเป็นแบบผสมผสานน่าจะดีกว่า”
“เรียกว่าเราได้รับอิทธิพลภาพแนวนี้จากผลงานของคุณมารุโอะเลยก็ว่าได้ เราชอบในความเป็นเอกลักษณ์เฉพาะในงานของเขามาก ทั้งลายเส้น ทั้งการสะท้อนให้เห็นถึงความบิดเบี้ยวลึกๆ ในตัวของมนุษย์ผ่านผลงานออกมาได้อย่างสวยงาม”
แต่นอกเหนือจากเรื่องของสไตล์ที่ชัดเจนแล้ว ไอเดียและคอนเซปต์ที่ซุกซ่อนอยู่ในแต่ละภาพคือสิ่งที่บิวได้แรงบันดาลใจจากการมองสิ่งต่างๆ รอบตัว แล้วจับมาผสมผสานกันจนเกิดเป็นภาพที่นำเสนอความเซอร์เรียลระหว่างมนุษย์กับอะไรบางอย่าง ซึ่งก็ไม่น่าแปลกใจนักเมื่อนักวาดสาวเปิดเผยว่าเธอมักเริ่มต้นสร้างผลงานจากการมีอารมณ์ร่วมก่อนปัจจัยอื่นใด
“มันเป็นสิ่งที่ไม่สามารถเค้นออกมาได้ ต้องรอจังหวะและสถานการณ์จริงๆ อาจจะฟังดูเรียบง่ายไปหน่อย แต่เพราะผลงานส่วนใหญ่ของเรามักไม่ได้เกิดจากการวางแผนที่ซับซ้อนเท่าไรนัก หลายภาพเกิดจากการจินตนาการเล่นๆ ในช่วงเวลากับจังหวะที่เหมาะสม แล้วจึงถ่ายทอดภาพในหัวออกมาในรูปแบบของภาพวาดเท่านั้นเอง”
ด้วยเอกลักษณ์ผลงานที่ประกอบด้วยผู้หญิง สายตาของตัวละคร และความเหนือจริงที่ถ่ายทอดผ่านสไตล์การวาดที่มีกลิ่นอายของศิลปะเอเชียแบบดั้งเดิม ทำให้เราจดจำชื่อของนักวาดสาวคนนี้ได้ไม่ยาก แต่ถ้าหากย้อนกลับไปดูผลงานช่วงแรกๆ ของเธอ คุณอาจประหลาดใจ เพราะภาพวาดส่วนใหญ่เป็นแนวการ์ตูนตาหวานราวกับคนละคน
“จุดเปลี่ยนคงเริ่มมาจากความชอบที่เปลี่ยนไปตามกาลเวลานี่แหละ พอเราได้เติบโต ลองผิดถูกมาเรื่อยๆ ก็ได้รู้ว่าอะไรที่เข้ากับเรามากที่สุด สุดท้ายมันก็ตกผลึกมาเป็นลายเส้นเราในทุกวันนี้” บิวเล่า
ก่อนจะมาเป็นนักเรียนศิลปะอย่างเต็มตัว ในวัยเด็กบิวคือเด็กหญิงที่อ้อนแม่ให้ซื้อการ์ตูนมือสองจากแผงร้านหนังสือเวลาไปเดินตลาดนัดทุกครั้ง จากความชอบนี้เองทำให้เธอฝึกวาดภาพจนเพื่อนที่โรงเรียนชื่นชมผลงาน ผลักดันให้เธอเริ่มจริงจังกับการวาดภาพมากขึ้น
“ตั้งแต่จำความได้เราก็เติบโตโดยมีมังงะญี่ปุ่นอยู่ด้วยแทบทุกช่วงของชีวิต และจากความคลั่งไคล้ในลายเส้นของฝั่งเอเชียนี่แหละที่ค่อนข้างส่งผลกับภาพวาดเราอยู่พอสมควร ผลงานส่วนมากของเราเลยมีกลิ่นอายความเป็นเอเชียซะส่วนใหญ่ แต่เราก็ไม่กล้าบอกว่างานเราดูมีความญี่ปุ่นเท่าไหร่หรอก เรียกว่าเป็นแบบผสมผสานน่าจะดีกว่า”
“เรียกว่าเราได้รับอิทธิพลภาพแนวนี้จากผลงานของคุณมารุโอะเลยก็ว่าได้ เราชอบในความเป็นเอกลักษณ์เฉพาะในงานของเขามาก ทั้งลายเส้น ทั้งการสะท้อนให้เห็นถึงความบิดเบี้ยวลึกๆ ในตัวของมนุษย์ผ่านผลงานออกมาได้อย่างสวยงาม”
แต่นอกเหนือจากเรื่องของสไตล์ที่ชัดเจนแล้ว ไอเดียและคอนเซปต์ที่ซุกซ่อนอยู่ในแต่ละภาพคือสิ่งที่บิวได้แรงบันดาลใจจากการมองสิ่งต่างๆ รอบตัว แล้วจับมาผสมผสานกันจนเกิดเป็นภาพที่นำเสนอความเซอร์เรียลระหว่างมนุษย์กับอะไรบางอย่าง ซึ่งก็ไม่น่าแปลกใจนักเมื่อนักวาดสาวเปิดเผยว่าเธอมักเริ่มต้นสร้างผลงานจากการมีอารมณ์ร่วมก่อนปัจจัยอื่นใด
“มันเป็นสิ่งที่ไม่สามารถเค้นออกมาได้ ต้องรอจังหวะและสถานการณ์จริงๆ อาจจะฟังดูเรียบง่ายไปหน่อย แต่เพราะผลงานส่วนใหญ่ของเรามักไม่ได้เกิดจากการวางแผนที่ซับซ้อนเท่าไรนัก หลายภาพเกิดจากการจินตนาการเล่นๆ ในช่วงเวลากับจังหวะที่เหมาะสม แล้วจึงถ่ายทอดภาพในหัวออกมาในรูปแบบของภาพวาดเท่านั้นเอง”
ด้วยเอกลักษณ์ผลงานที่ประกอบด้วยผู้หญิง สายตาของตัวละคร และความเหนือจริงที่ถ่ายทอดผ่านสไตล์การวาดที่มีกลิ่นอายของศิลปะเอเชียแบบดั้งเดิม ทำให้เราจดจำชื่อของนักวาดสาวคนนี้ได้ไม่ยาก แต่ถ้าหากย้อนกลับไปดูผลงานช่วงแรกๆ ของเธอ คุณอาจประหลาดใจ เพราะภาพวาดส่วนใหญ่เป็นแนวการ์ตูนตาหวานราวกับคนละคน
“จุดเปลี่ยนคงเริ่มมาจากความชอบที่เปลี่ยนไปตามกาลเวลานี่แหละ พอเราได้เติบโต ลองผิดถูกมาเรื่อยๆ ก็ได้รู้ว่าอะไรที่เข้ากับเรามากที่สุด สุดท้ายมันก็ตกผลึกมาเป็นลายเส้นเราในทุกวันนี้” บิวเล่า
ก่อนจะมาเป็นนักเรียนศิลปะอย่างเต็มตัว ในวัยเด็กบิวคือเด็กหญิงที่อ้อนแม่ให้ซื้อการ์ตูนมือสองจากแผงร้านหนังสือเวลาไปเดินตลาดนัดทุกครั้ง จากความชอบนี้เองทำให้เธอฝึกวาดภาพจนเพื่อนที่โรงเรียนชื่นชมผลงาน ผลักดันให้เธอเริ่มจริงจังกับการวาดภาพมากขึ้น
“ตั้งแต่จำความได้เราก็เติบโตโดยมีมังงะญี่ปุ่นอยู่ด้วยแทบทุกช่วงของชีวิต และจากความคลั่งไคล้ในลายเส้นของฝั่งเอเชียนี่แหละที่ค่อนข้างส่งผลกับภาพวาดเราอยู่พอสมควร ผลงานส่วนมากของเราเลยมีกลิ่นอายความเป็นเอเชียซะส่วนใหญ่ แต่เราก็ไม่กล้าบอกว่างานเราดูมีความญี่ปุ่นเท่าไหร่หรอก เรียกว่าเป็นแบบผสมผสานน่าจะดีกว่า”
“เรียกว่าเราได้รับอิทธิพลภาพแนวนี้จากผลงานของคุณมารุโอะเลยก็ว่าได้ เราชอบในความเป็นเอกลักษณ์เฉพาะในงานของเขามาก ทั้งลายเส้น ทั้งการสะท้อนให้เห็นถึงความบิดเบี้ยวลึกๆ ในตัวของมนุษย์ผ่านผลงานออกมาได้อย่างสวยงาม”
แต่นอกเหนือจากเรื่องของสไตล์ที่ชัดเจนแล้ว ไอเดียและคอนเซปต์ที่ซุกซ่อนอยู่ในแต่ละภาพคือสิ่งที่บิวได้แรงบันดาลใจจากการมองสิ่งต่างๆ รอบตัว แล้วจับมาผสมผสานกันจนเกิดเป็นภาพที่นำเสนอความเซอร์เรียลระหว่างมนุษย์กับอะไรบางอย่าง ซึ่งก็ไม่น่าแปลกใจนักเมื่อนักวาดสาวเปิดเผยว่าเธอมักเริ่มต้นสร้างผลงานจากการมีอารมณ์ร่วมก่อนปัจจัยอื่นใด
“มันเป็นสิ่งที่ไม่สามารถเค้นออกมาได้ ต้องรอจังหวะและสถานการณ์จริงๆ อาจจะฟังดูเรียบง่ายไปหน่อย แต่เพราะผลงานส่วนใหญ่ของเรามักไม่ได้เกิดจากการวางแผนที่ซับซ้อนเท่าไรนัก หลายภาพเกิดจากการจินตนาการเล่นๆ ในช่วงเวลากับจังหวะที่เหมาะสม แล้วจึงถ่ายทอดภาพในหัวออกมาในรูปแบบของภาพวาดเท่านั้นเอง”
ทั้งสวยทั้งหลอน น่าจะเป็นคำจำกัดความรู้สึกเมื่อเราได้เห็นผลงานของ บิว–ณัฐชยา ชาวน้ำอ้อม ได้เหมาะสมที่สุด
ด้วยเอกลักษณ์ผลงานที่ประกอบด้วยผู้หญิง สายตาของตัวละคร และความเหนือจริงที่ถ่ายทอดผ่านสไตล์การวาดที่มีกลิ่นอายของศิลปะเอเชียแบบดั้งเดิม ทำให้เราจดจำชื่อของนักวาดสาวคนนี้ได้ไม่ยาก แต่ถ้าหากย้อนกลับไปดูผลงานช่วงแรกๆ ของเธอ คุณอาจประหลาดใจ เพราะภาพวาดส่วนใหญ่เป็นแนวการ์ตูนตาหวานราวกับคนละคน
“จุดเปลี่ยนคงเริ่มมาจากความชอบที่เปลี่ยนไปตามกาลเวลานี่แหละ พอเราได้เติบโต ลองผิดถูกมาเรื่อยๆ ก็ได้รู้ว่าอะไรที่เข้ากับเรามากที่สุด สุดท้ายมันก็ตกผลึกมาเป็นลายเส้นเราในทุกวันนี้” บิวเล่า
ก่อนจะมาเป็นนักเรียนศิลปะอย่างเต็มตัว ในวัยเด็กบิวคือเด็กหญิงที่อ้อนแม่ให้ซื้อการ์ตูนมือสองจากแผงร้านหนังสือเวลาไปเดินตลาดนัดทุกครั้ง จากความชอบนี้เองทำให้เธอฝึกวาดภาพจนเพื่อนที่โรงเรียนชื่นชมผลงาน ผลักดันให้เธอเริ่มจริงจังกับการวาดภาพมากขึ้น
“ตั้งแต่จำความได้เราก็เติบโตโดยมีมังงะญี่ปุ่นอยู่ด้วยแทบทุกช่วงของชีวิต และจากความคลั่งไคล้ในลายเส้นของฝั่งเอเชียนี่แหละที่ค่อนข้างส่งผลกับภาพวาดเราอยู่พอสมควร ผลงานส่วนมากของเราเลยมีกลิ่นอายความเป็นเอเชียซะส่วนใหญ่ แต่เราก็ไม่กล้าบอกว่างานเราดูมีความญี่ปุ่นเท่าไหร่หรอก เรียกว่าเป็นแบบผสมผสานน่าจะดีกว่า”
ส่วนเหตุผลเบื้องหลังที่ส่งผลให้ผลงานของบิวมีเอเลเมนต์ที่สื่อถึงความเหนือจริงชวนหลอน ดูแล้วแอบขนลุกก็มาจากรสนิยมการเสพสื่อของเธอเช่นเดียวกัน โดยเฉพาะผลงานของ Suehiro Maruo นักวาดการ์ตูนชาวญี่ปุ่นที่เป็นที่รู้จักในกลุ่มศิลปะแนว Ero Guro (งานแนวโป๊เปลือยที่มีความพิสดาร) ที่เธอยกให้เป็นไอดอลคนสำคัญ
“เราชอบเสพผลงานแนวนี้มาก ก็เลยติดการวาดรูปแนวหลอนๆ มาเลย เราคิดว่างานแนวนี้มันสะท้อนให้เห็นถึงความลึกซึ้งในตัวของมนุษย์ได้เป็นอย่างดี พอดูๆ ไปมันก็ทั้งสวยงามแต่บางทีก็น่ากลัวในเวลาเดียวกัน
ทั้งสวยทั้งหลอน น่าจะเป็นคำจำกัดความรู้สึกเมื่อเราได้เห็นผลงานของ บิว–ณัฐชยา ชาวน้ำอ้อม ได้เหมาะสมที่สุด
ด้วยเอกลักษณ์ผลงานที่ประกอบด้วยผู้หญิง สายตาของตัวละคร และความเหนือจริงที่ถ่ายทอดผ่านสไตล์การวาดที่มีกลิ่นอายของศิลปะเอเชียแบบดั้งเดิม ทำให้เราจดจำชื่อของนักวาดสาวคนนี้ได้ไม่ยาก แต่ถ้าหากย้อนกลับไปดูผลงานช่วงแรกๆ ของเธอ คุณอาจประหลาดใจ เพราะภาพวาดส่วนใหญ่เป็นแนวการ์ตูนตาหวานราวกับคนละคน
“จุดเปลี่ยนคงเริ่มมาจากความชอบที่เปลี่ยนไปตามกาลเวลานี่แหละ พอเราได้เติบโต ลองผิดถูกมาเรื่อยๆ ก็ได้รู้ว่าอะไรที่เข้ากับเรามากที่สุด สุดท้ายมันก็ตกผลึกมาเป็นลายเส้นเราในทุกวันนี้” บิวเล่า
ก่อนจะมาเป็นนักเรียนศิลปะอย่างเต็มตัว ในวัยเด็กบิวคือเด็กหญิงที่อ้อนแม่ให้ซื้อการ์ตูนมือสองจากแผงร้านหนังสือเวลาไปเดินตลาดนัดทุกครั้ง จากความชอบนี้เองทำให้เธอฝึกวาดภาพจนเพื่อนที่โรงเรียนชื่นชมผลงาน ผลักดันให้เธอเริ่มจริงจังกับการวาดภาพมากขึ้น

AUTHOR

PHOTOGRAPHER

ชนพัฒน์ เศรษฐโสรัถ

ช่างภาพนิตยสาร a day ที่เพิ่งมีพ็อกเก็ตบุ๊กเล่มใหม่ชื่อ view • finder ออกไปเจอบอลติก ซื้อสิ ไปซื้อ เฮ่!