Wheel of Fortune and Fantasy : ชีวิตของเราไม่ต่างกัน เธอกับฉันต่างมีช่องโหว่ที่ไม่อาจเติมเต็ม

เทศกาลภาพยนตร์นานาชาติเมืองคานส์ประจำปี 2021 ที่จบไปช่วงกลางเดือนกรกฎาคม นำมาซึ่งความปีติยินดีเมื่อหนังเรื่อง Memoria ของอภิชาติพงศ์ วีระเศรษฐกุล ได้รับคำวิจารณ์ในแง่บวกและคว้ารางวัล Jury Prize มาได้ ส่วนหนังอีกเรื่องที่ได้รับคำชมล้นหลามคือ Drive My Car หนังญี่ปุ่นของ Ryûsuke Hamaguchi ที่คว้ารางวัลบทภาพยนตร์ยอดเยี่ยมไป Wheel of Fortune and Fantasy

Drive My Car ดัดแปลงมาจากเรื่องสั้นชื่อเดียวกันของ Haruki Murakami (อยู่ในหนังสือ Men Without Women ชายที่คนรักจากไป) ว่าด้วยความสัมพันธ์ของนักแสดงละครเวทีที่สูญเสียภรรยากับคนขับรถหญิง ฮามากูจิสร้างความเหวอกับผู้ชมด้วยการดัดแปลงเรื่องสั้นความยาวไม่ถึง 30 หน้าให้กลายเป็นหนังยาว 3 ชั่วโมง แต่ดูเหมือนทุกบทวิจารณ์จะเห็นไปในทางเดียวกันว่ามันเป็นความยาวที่คุ้มค่าแก่การชม (อนึ่ง มีค่ายหนังในบ้านเราซื้อ Drive My Car มาฉายแล้วเรียบร้อย)

ฮามากูจิสร้างชื่อด้วยหนังเรื่อง Happy Hour (2015) ที่มีความยาว 5 ชั่วโมง (!!) เล่าถึงกลุ่มเพื่อนสาววัยสามสิบ 4 คน โดยแต่ละคนล้วนมีปัญหาชีวิตเป็นของตัวเอง ความโดดเด่นของหนังคือเต็มไปด้วยฉากตัวละครพูดคุยกันอย่างยืดยาว และมีบางฉากที่ยาวนานเป็นพิเศษจนชวนงง เช่น ฉากนักเขียนอ่านหนังสือให้คนอ่านฟัง 20 นาที หรือฉากเวิร์กช็อปร่างกายที่กินความไป 30 นาที ยังไงก็ดี ความยาวเหล่านี้ไม่ใช่การทรมานผู้ชมด้วยความนิ่งช้า หากเต็มไปด้วยรายละเอียดงดงาม ทั้งเนื้อหา จังหวะของบทสนทนา การเคลื่อนไหว และภาษากายของนักแสดง

ผลงานของฮามากูจิที่หลายคนอาจรู้จักคือ Asako I & II (2018) เรื่องราวของหญิงสาวที่ชายคนรักหายตัวไป และ 2 ปีถัดมาเธอก็ได้พบกับผู้ชายที่หน้าตาเหมือนแฟนของเธอแต่กลับมีบุคลิกต่างไปสิ้นเชิง ส่วนตัวแล้วผู้เขียนอาจไม่ได้ประทับใจเรื่องนี้เท่ากับ Happy Hour แต่ก็ชอบความพิศวงที่ถ่ายทอดอย่างเรียบง่าย ไม่เน้นความหวือหวา ทว่าน่าเสียดายว่าข่าวชู้สาวระหว่างสองนักแสดงนำของเรื่องกลับแย่งซีนตัวหนังไปเสียหมด

ปี 2021 ดูเหมือนจะเป็นปีทองของฮามากูจิ นอกจากจะได้รางวัลที่คานส์แล้ว เมื่อต้นปีหนังเรื่อง Wheel of Fortune and Fantasy (2021) ก็คว้ารางวัลหมีเงิน Grand Jury Prize จากเทศกาลหนังเบอร์ลิน หนังเรื่องนี้ประกอบด้วยหนังสั้น 3 เรื่องด้วยกัน ข่าวดีคือความยาวของมันแค่ 121 นาที อยู่ในระดับหนังปกติทั่วไป

Wheel of Fortune and Fantasy มีชื่อภาษาญี่ปุ่นว่า Guzen to sozo แปลความได้ว่า ‘ความบังเอิญและจินตนาการ’ ซึ่งหนังทั้ง 3 ตอนก็ล้วนเกาะเกี่ยวอยู่บนธีมนี้ และฮามากูจิเขียนบทด้วยตัวเองทุกตอน ตอนแรกมีชื่อว่า ‘MAGIC (or something less assuring) ‘ เปิดฉากด้วยนางแบบสาวพูดคุยกับผู้ช่วยของเธออย่างยาวนานบนแท็กซี่ถึงแฟนหนุ่มคนใหม่ของผู้ช่วย ก่อนที่หนังจะพลิกไปเล่าถึงนางแบบสาวและการบุกไปคุยกับแฟนเก่า แน่นอนว่าต้องตามมาด้วยฉากสนทนายาวเฟื้อยตามสไตล์ฮามากูจิ แต่ท่ามกลางคำพูดที่หลั่งไหล เราสัมผัสได้ทั้งความขมขื่นและอบอุ่นใจ พร้อมกับคำถามว่าการตัดใจจากความสัมพันธ์ที่จบสิ้นไม่ได้ถือเป็นเวทมนตร์วิเศษหรือต้องคำสาปกันแน่

Wheel of Fortune and Fantasy

ตอนที่สอง ‘DOOR WIDE OPEN’ ว่าด้วยหญิงสาวผู้เดินทางไปพบกับอาจารย์มหาวิทยาลัยที่เพิ่งได้รับรางวัลวรรณกรรม มีฉากน่าจดจำคือการที่เธออ่านหนังสือให้อาจารย์ฟังเป็นเวลาหลายนาที (ชวนให้นึกถึงเรื่อง Happy Hour) หากแต่เนื้อความนั้นเต็มไปด้วยความอีโรติกที่เกี่ยวกับถุงอัณฑะ ทำให้บรรยากาศของตอนนี้ปกคลุมด้วยความตึงเครียด ไม่น่าไว้วางใจ และเดาทางยาก ก่อนจะนำไปสู่บทสรุปอันพลิกผันที่ไม่แน่ใจว่าควรหัวเราะหรือร้องไห้กันแน่

‘ONCE AGAIN’ ซึ่งเป็นตอนสุดท้ายของหนัง เป็นตอนที่ผู้เขียนชอบที่สุด เล่าถึงหญิงสาวสองคนที่พบกันโดยบังเอิญบริเวณสถานีรถไฟ ทั้งคู่เป็นเพื่อนมัธยมที่ไม่เจอหน้ากันหลายปี หากแต่เมื่อหนังดำเนินไปต่างฝ่ายก็เริ่มไม่แน่ใจในตัวตนของกันและกัน นำมาซึ่งความคลุมเครือทางอัตลักษณ์ และการสมมติบทบาทแบบสมัครใจ ทำให้การแสดงของตอนนี้ยิ่งซับซ้อนขึ้นไปอีก

Wheel of Fortune and Fantasy

ผู้เขียนคิดว่าข้อดีของ Wheel of Fortune and Fantasy คือนักแสดงส่วนใหญ่เป็นหน้าใหม่หรือไม่ได้มีชื่อเสียงมากนัก ความที่ไม่มีออร่าของดาราทำให้เรา ‘อิน’ กับพวกเขาได้ง่ายขึ้น และคิดว่าพวกเขาคือมนุษย์ปุถุชนที่มีความรัก โลภ โกรธ หลงแบบเราๆ ท่านๆ ซึ่งฮามากูจิให้สัมภาษณ์ว่าสิ่งที่เขาให้ความสำคัญที่สุดในหนังเรื่องนี้คือการซ้อมบทของนักแสดง ซึ่งเป็นผลให้หนังเป็นธรรมชาติและน่าเชื่อถือ แม้จะเต็มไปด้วยฉากพูดคุยยาวเหยียด ตอนรับรางวัล ณ เทศกาลหนังเบอร์ลิน ฮามากูจิบอกว่าคนที่เขาต้องขอบคุณมากที่สุดก็คือเหล่านักแสดงนั่นเอง

มีข้อสังเกตว่านอกจากนักแสดงแล้ว อีกตัวละครสำคัญก็คือ ‘สถานที่’ ทั้งสามตอนเลือกใช้โลเคชั่นต่างกันไป ตอนแรกเน้นบรรยากาศทันสมัยของโตเกียว อิงไปกับความรักวูบไหวของหนุ่มสาว ตอนสองถ่ายในมหาวิทยาลัยเกือบทั้งเรื่อง สถานที่ปิดช่วยส่งเสริมความอึดอัดกระอักกระอ่วนใจ ส่วนตอนสามเลือกถ่ายในเมืองเซนไดที่ขึ้นชื่อเรื่องความอุดมสมบูรณ์ของต้นไม้ เข้ากันดีกับฉากที่สองตัวละครเดินรำลึกความหลังท่ามกลางสีเขียวขจี ส่วนสถานีรถไฟเซนไดก็ช่วยขับเน้นเรื่องการพบพานและจากลา

Wheel of Fortune and Fantasy

Wheel of Fortune and Fantasy อาจเป็นหนังจังหวะเรื่อยๆ ที่ไม่ได้ทะเยอทะยานอะไรนัก ดูจบแล้วผู้ชมบางท่านอาจสงสัยว่านี่ฉันดูอะไรไป หนังต้องการจะบอกอะไรนะ สำหรับผู้เขียนแล้ว หนังเรื่องนี้บอกเล่าถึงมนุษย์ที่เผชิญหน้ากับชะตากรรม มีทั้งผู้ที่เอาชนะโชคชะตาได้และผู้ที่พ่ายแพ้แก่มันจนต้องจินตนาการโลกอีกแบบขึ้นมา แต่ถึงที่สุดแล้วเราก็ต้องใช้ชีวิตกับกงล้อชะตานี้ต่อไป เหมือนกับที่ตัวละครหนึ่งพูดไว้ในหนังว่า

“ตอนนี้ฉันรู้แล้วว่าบาดแผลเป็นเรื่องจำเป็นสำหรับชีวิต เธอคงมีรูโหว่บางอย่างที่ไม่มีวันเติมเต็มได้ ฉันเองก็มีเช่นกัน และเราคงเชื่อมโยงกันได้ด้วยหลุมนั้น”

1

11ผลงานของฮามากูจิที่หลายคนอาจรู้จักคือ Asako I & II (2018) เรื่องราวของหญิงสาวที่ชายคนรักหายตัวไป และ 2 ปีถัดมาเธอก็ได้พบกับผู้ชายที่หน้าตาเหมือนแฟนของเธอแต่กลับมีบุคลิกต่างไปสิ้นเชิง ส่วนตัวแล้วผู้เขียนอาจไม่ได้ประทับใจเรื่องนี้เท่ากับ Happy Hour แต่ก็ชอบความพิศวงที่ถ่ายทอดอย่างเรียบง่าย ไม่เน้นความหวือหวา ทว่าน่าเสียดายว่าข่าวชู้สาวระหว่างสองนักแสดงนำของเรื่องกลับแย่งซีนตัวหนังไปเสียหมด

12ผลงานของฮามากูจิที่หลายคนอาจรู้จักคือ Asako I & II (2018) เรื่องราวของหญิงสาวที่ชายคนรักหายตัวไป และ 2 ปีถัดมาเธอก็ได้พบกับผู้ชายที่หน้าตาเหมือนแฟนของเธอแต่กลับมีบุคลิกต่างไปสิ้นเชิง ส่วนตัวแล้วผู้เขียนอาจไม่ได้ประทับใจเรื่องนี้เท่ากับ Happy Hour แต่ก็ชอบความพิศวงที่ถ่ายทอดอย่างเรียบง่าย ไม่เน้นความหวือหวา ทว่าน่าเสียดายว่าข่าวชู้สาวระหว่างสองนักแสดงนำของเรื่องกลับแย่งซีนตัวหนังไปเสียหมด

Grand Jury Prize

2

21ผลงานของฮามากูจิที่หลายคนอาจรู้จักคือ Asako I & II (2018) เรื่องราวของหญิงสาวที่ชายคนรักหายตัวไป และ 2 ปีถัดมาเธอก็ได้พบกับผู้ชายที่หน้าตาเหมือนแฟนของเธอแต่กลับมีบุคลิกต่างไปสิ้นเชิง ส่วนตัวแล้วผู้เขียนอาจไม่ได้ประทับใจเรื่องนี้เท่ากับ Happy Hour แต่ก็ชอบความพิศวงที่ถ่ายทอดอย่างเรียบง่าย ไม่เน้นความหวือหวา ทว่าน่าเสียดายว่าข่าวชู้สาวระหว่างสองนักแสดงนำของเรื่องกลับแย่งซีนตัวหนังไปเสียหมด

22ผลงานของฮามากูจิที่หลายคนอาจรู้จักคือ Asako I & II (2018) เรื่องราวของหญิงสาวที่ชายคนรักหายตัวไป และ 2 ปีถัดมาเธอก็ได้พบกับผู้ชายที่หน้าตาเหมือนแฟนของเธอแต่กลับมีบุคลิกต่างไปสิ้นเชิง ส่วนตัวแล้วผู้เขียนอาจไม่ได้ประทับใจเรื่องนี้เท่ากับ Happy Hour แต่ก็ชอบความพิศวงที่ถ่ายทอดอย่างเรียบง่าย ไม่เน้นความหวือหวา ทว่าน่าเสียดายว่าข่าวชู้สาวระหว่างสองนักแสดงนำของเรื่องกลับแย่งซีนตัวหนังไปเสียหมด

3

31ผลงานของฮามากูจิที่หลายคนอาจรู้จักคือ Asako I & II (2018) เรื่องราวของหญิงสาวที่ชายคนรักหายตัวไป และ 2 ปีถัดมาเธอก็ได้พบกับผู้ชายที่หน้าตาเหมือนแฟนของเธอแต่กลับมีบุคลิกต่างไปสิ้นเชิง ส่วนตัวแล้วผู้เขียนอาจไม่ได้ประทับใจเรื่องนี้เท่ากับ Happy Hour แต่ก็ชอบความพิศวงที่ถ่ายทอดอย่างเรียบง่าย ไม่เน้นความหวือหวา ทว่าน่าเสียดายว่าข่าวชู้สาวระหว่างสองนักแสดงนำของเรื่องกลับแย่งซีนตัวหนังไปเสียหมด

32ผลงานของฮามากูจิที่หลายคนอาจรู้จักคือ Asako I & II (2018) เรื่องราวของหญิงสาวที่ชายคนรักหายตัวไป และ 2 ปีถัดมาเธอก็ได้พบกับผู้ชายที่หน้าตาเหมือนแฟนของเธอแต่กลับมีบุคลิกต่างไปสิ้นเชิง ส่วนตัวแล้วผู้เขียนอาจไม่ได้ประทับใจเรื่องนี้เท่ากับ Happy Hour แต่ก็ชอบความพิศวงที่ถ่ายทอดอย่างเรียบง่าย ไม่เน้นความหวือหวา ทว่าน่าเสียดายว่าข่าวชู้สาวระหว่างสองนักแสดงนำของเรื่องกลับแย่งซีนตัวหนังไปเสียหมด

4

41ผลงานของฮามากูจิที่หลายคนอาจรู้จักคือ Asako I & II (2018) เรื่องราวของหญิงสาวที่ชายคนรักหายตัวไป และ 2 ปีถัดมาเธอก็ได้พบกับผู้ชายที่หน้าตาเหมือนแฟนของเธอแต่กลับมีบุคลิกต่างไปสิ้นเชิง ส่วนตัวแล้วผู้เขียนอาจไม่ได้ประทับใจเรื่องนี้เท่ากับ Happy Hour แต่ก็ชอบความพิศวงที่ถ่ายทอดอย่างเรียบง่าย ไม่เน้นความหวือหวา ทว่าน่าเสียดายว่าข่าวชู้สาวระหว่างสองนักแสดงนำของเรื่องกลับแย่งซีนตัวหนังไปเสียหมด

42ผลงานของฮามากูจิที่หลายคนอาจรู้จักคือ Asako I & II (2018) เรื่องราวของหญิงสาวที่ชายคนรักหายตัวไป และ 2 ปีถัดมาเธอก็ได้พบกับผู้ชายที่หน้าตาเหมือนแฟนของเธอแต่กลับมีบุคลิกต่างไปสิ้นเชิง ส่วนตัวแล้วผู้เขียนอาจไม่ได้ประทับใจเรื่องนี้เท่ากับ Happy Hour แต่ก็ชอบความพิศวงที่ถ่ายทอดอย่างเรียบง่าย ไม่เน้นความหวือหวา ทว่าน่าเสียดายว่าข่าวชู้สาวระหว่างสองนักแสดงนำของเรื่องกลับแย่งซีนตัวหนังไปเสียหมด

5

51ผลงานของฮามากูจิที่หลายคนอาจรู้จักคือ Asako I & II (2018) เรื่องราวของหญิงสาวที่ชายคนรักหายตัวไป และ 2 ปีถัดมาเธอก็ได้พบกับผู้ชายที่หน้าตาเหมือนแฟนของเธอแต่กลับมีบุคลิกต่างไปสิ้นเชิง ส่วนตัวแล้วผู้เขียนอาจไม่ได้ประทับใจเรื่องนี้เท่ากับ Happy Hour แต่ก็ชอบความพิศวงที่ถ่ายทอดอย่างเรียบง่าย ไม่เน้นความหวือหวา ทว่าน่าเสียดายว่าข่าวชู้สาวระหว่างสองนักแสดงนำของเรื่องกลับแย่งซีนตัวหนังไปเสียหมด

52ผลงานของฮามากูจิที่หลายคนอาจรู้จักคือ Asako I & II (2018) เรื่องราวของหญิงสาวที่ชายคนรักหายตัวไป และ 2 ปีถัดมาเธอก็ได้พบกับผู้ชายที่หน้าตาเหมือนแฟนของเธอแต่กลับมีบุคลิกต่างไปสิ้นเชิง ส่วนตัวแล้วผู้เขียนอาจไม่ได้ประทับใจเรื่องนี้เท่ากับ Happy Hour แต่ก็ชอบความพิศวงที่ถ่ายทอดอย่างเรียบง่าย ไม่เน้นความหวือหวา ทว่าน่าเสียดายว่าข่าวชู้สาวระหว่างสองนักแสดงนำของเรื่องกลับแย่งซีนตัวหนังไปเสียหมด

6 Wheel of Fortune and Fantasy

61ผลงานของฮามากูจิที่หลายคนอาจรู้จักคือ Asako I & II (2018) เรื่องราวของหญิงสาวที่ชายคนรักหายตัวไป และ 2 ปีถัดมาเธอก็ได้พบกับผู้ชายที่หน้าตาเหมือนแฟนของเธอแต่กลับมีบุคลิกต่างไปสิ้นเชิง ส่วนตัวแล้วผู้เขียนอาจไม่ได้ประทับใจเรื่องนี้เท่ากับ Happy Hour แต่ก็ชอบความพิศวงที่ถ่ายทอดอย่างเรียบง่าย ไม่เน้นความหวือหวา ทว่าน่าเสียดายว่าข่าวชู้สาวระหว่างสองนักแสดงนำของเรื่องกลับแย่งซีนตัวหนังไปเสียหมด

62ผลงานของฮามากูจิที่หลายคนอาจรู้จักคือ Asako I & II (2018) เรื่องราวของหญิงสาวที่ชายคนรักหายตัวไป และ 2 ปีถัดมาเธอก็ได้พบกับผู้ชายที่หน้าตาเหมือนแฟนของเธอแต่กลับมีบุคลิกต่างไปสิ้นเชิง ส่วนตัวแล้วผู้เขียนอาจไม่ได้ประทับใจเรื่องนี้เท่ากับ Happy Hour แต่ก็ชอบความพิศวงที่ถ่ายทอดอย่างเรียบง่าย ไม่เน้นความหวือหวา ทว่าน่าเสียดายว่าข่าวชู้สาวระหว่างสองนักแสดงนำของเรื่องกลับแย่งซีนตัวหนังไปเสียหมด

7 Wheel of Fortune and Fantasy

71ผลงานของฮามากูจิที่หลายคนอาจรู้จักคือ Asako I & II (2018) เรื่องราวของหญิงสาวที่ชายคนรักหายตัวไป และ 2 ปีถัดมาเธอก็ได้พบกับผู้ชายที่หน้าตาเหมือนแฟนของเธอแต่กลับมีบุคลิกต่างไปสิ้นเชิง ส่วนตัวแล้วผู้เขียนอาจไม่ได้ประทับใจเรื่องนี้เท่ากับ Happy Hour แต่ก็ชอบความพิศวงที่ถ่ายทอดอย่างเรียบง่าย ไม่เน้นความหวือหวา ทว่าน่าเสียดายว่าข่าวชู้สาวระหว่างสองนักแสดงนำของเรื่องกลับแย่งซีนตัวหนังไปเสียหมด

72ผลงานของฮามากูจิที่หลายคนอาจรู้จักคือ Asako I & II (2018) เรื่องราวของหญิงสาวที่ชายคนรักหายตัวไป และ 2 ปีถัดมาเธอก็ได้พบกับผู้ชายที่หน้าตาเหมือนแฟนของเธอแต่กลับมีบุคลิกต่างไปสิ้นเชิง ส่วนตัวแล้วผู้เขียนอาจไม่ได้ประทับใจเรื่องนี้เท่ากับ Happy Hour แต่ก็ชอบความพิศวงที่ถ่ายทอดอย่างเรียบง่าย ไม่เน้นความหวือหวา ทว่าน่าเสียดายว่าข่าวชู้สาวระหว่างสองนักแสดงนำของเรื่องกลับแย่งซีนตัวหนังไปเสียหมด

8 Wheel of Fortune and Fantasy

81ผลงานของฮามากูจิที่หลายคนอาจรู้จักคือ Asako I & II (2018) เรื่องราวของหญิงสาวที่ชายคนรักหายตัวไป และ 2 ปีถัดมาเธอก็ได้พบกับผู้ชายที่หน้าตาเหมือนแฟนของเธอแต่กลับมีบุคลิกต่างไปสิ้นเชิง ส่วนตัวแล้วผู้เขียนอาจไม่ได้ประทับใจเรื่องนี้เท่ากับ Happy Hour แต่ก็ชอบความพิศวงที่ถ่ายทอดอย่างเรียบง่าย ไม่เน้นความหวือหวา ทว่าน่าเสียดายว่าข่าวชู้สาวระหว่างสองนักแสดงนำของเรื่องกลับแย่งซีนตัวหนังไปเสียหมด

82ผลงานของฮามากูจิที่หลายคนอาจรู้จักคือ Asako I & II (2018) เรื่องราวของหญิงสาวที่ชายคนรักหายตัวไป และ 2 ปีถัดมาเธอก็ได้พบกับผู้ชายที่หน้าตาเหมือนแฟนของเธอแต่กลับมีบุคลิกต่างไปสิ้นเชิง ส่วนตัวแล้วผู้เขียนอาจไม่ได้ประทับใจเรื่องนี้เท่ากับ Happy Hour แต่ก็ชอบความพิศวงที่ถ่ายทอดอย่างเรียบง่าย ไม่เน้นความหวือหวา ทว่าน่าเสียดายว่าข่าวชู้สาวระหว่างสองนักแสดงนำของเรื่องกลับแย่งซีนตัวหนังไปเสียหมด

9

91ผลงานของฮามากูจิที่หลายคนอาจรู้จักคือ Asako I & II (2018) เรื่องราวของหญิงสาวที่ชายคนรักหายตัวไป และ 2 ปีถัดมาเธอก็ได้พบกับผู้ชายที่หน้าตาเหมือนแฟนของเธอแต่กลับมีบุคลิกต่างไปสิ้นเชิง ส่วนตัวแล้วผู้เขียนอาจไม่ได้ประทับใจเรื่องนี้เท่ากับ Happy Hour แต่ก็ชอบความพิศวงที่ถ่ายทอดอย่างเรียบง่าย ไม่เน้นความหวือหวา ทว่าน่าเสียดายว่าข่าวชู้สาวระหว่างสองนักแสดงนำของเรื่องกลับแย่งซีนตัวหนังไปเสียหมด

92ผลงานของฮามากูจิที่หลายคนอาจรู้จักคือ Asako I & II (2018) เรื่องราวของหญิงสาวที่ชายคนรักหายตัวไป และ 2 ปีถัดมาเธอก็ได้พบกับผู้ชายที่หน้าตาเหมือนแฟนของเธอแต่กลับมีบุคลิกต่างไปสิ้นเชิง ส่วนตัวแล้วผู้เขียนอาจไม่ได้ประทับใจเรื่องนี้เท่ากับ Happy Hour แต่ก็ชอบความพิศวงที่ถ่ายทอดอย่างเรียบง่าย ไม่เน้นความหวือหวา ทว่าน่าเสียดายว่าข่าวชู้สาวระหว่างสองนักแสดงนำของเรื่องกลับแย่งซีนตัวหนังไปเสียหมด

AUTHOR