รูปจาก PULSE Clinic
“ความไว้เนื้อเชื่อใจเป็นสิ่งที่ดีสำหรับการมีแฟนหรือการคบคนคนหนึ่งไปนานๆ แต่ความไว้เนื้อเชื่อใจมันไม่ได้ป้องกันเราจากเชื้อโรค” PULSE Clinic
พ็อดแคสต์ Sex is More EP.14 ตอนสุดท้ายของซีซั่นนี้ ลูกแก้ว โชติรส โฮสต์ของเราพาไปคุยกับ ‘หมอเต้–นายแพทย์ ณัฐเขต แย้มอิ่ม’ ผู้ก่อตั้ง PULSE Clinic คลินิกให้คำปรึกษาเรื่องโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ ที่ไม่ว่าคุณจะเป็นเพศไหน อายุเท่าไหร่ กำลังวางแผนจะไปมีเซ็กซ์กับใคร หรือแม้กระทั่งมีเซ็กซ์มาแล้วรู้สึกกังวลว่าจะติดโรค ประตูของ PULSE Clinic จะเปิดต้อนรับคุณเสมอ
จำไม่ได้ว่ามีเซ็กซ์แล้วป้องกันหรือเปล่า ควรตรวจสอบตัวเองยังไง? คนที่เป็นแฟนกันต้องตรวจเลือดไหม? คืนนี้จะได้ผู้แน่ๆ เตรียมตัวยังไงดีคะหมอ? ใน EP นี้ ทั้งคู่จะมาตอบทุกข้อสงสัย และพูดคุยถึงเคสของโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ที่ไม่ต้องสอดใส่ก็ติดได้ แถมยังแนะนำวิธีป้องกันอื่นๆ ที่มากกว่าถุงยางอนามัย ไปจนถึงวิธีอยู่กับโรคติดต่อยังไง (รวมทั้งการ ‘อยู่’ กับคนที่เป็นโรคติดต่อยังไง) ให้เฮลตี้ที่สุด
ใครคิดว่าโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์เป็นเรื่องไกลตัว ฟัง EP นี้แล้วความคิดคุณจะเปลี่ยนไป
VIDEO
ติดตาม PULSE Clinic และสอบถามข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ เว็บไซต์
1 PULSE Clinic
Sex is More เปิดศักราชใหม่ด้วยการพาคุณผู้ฟังไปเปิดโลกของ I ตัวอักษรสุดลึกลับใน LGBTQIA+ ซึ่งย่อมาจาก Intersex หรือ ‘เพศกำกวม’ คำที่หลายคนอาจคุ้นๆ ว่ามันคือภาวะการมีอวัยวะเพศชายและหญิงอยู่ในร่างเดียวกัน ลบภาพจำนั้นไปก่อน เพราะอินเตอร์เซ็กซ์มีมิติที่หลากหลายและซับซ้อนมากกว่านั้น ใน EP นี้ ลูกแก้ว โชติรส โฮสต์ของเราพาไปคุยกับ ‘นาดา ไชยจิตต์’ นักกฎหมายและนักรณรงค์เพื่อสิทธิ LGBTQIA+ ผู้นิยามตัวเองว่าเป็น ‘อินเตอร์เซ็กซ์-ข้ามเพศ’ ที่เกิดมาพร้อมกับอวัยวะเพศชายที่เล็กมาก มีท่อปัสสาวะอยู่ด้านใต้แทนที่จะอยู่ตรงกลาง และมีถุงอัณฑะขนาดเล็กที่ราบเรียบจนเหมือนแคมของเพศหญิงประสานติดกัน
ตั้งแต่เด็ก นาดาเข้าใจว่าตัวเองเป็นผู้หญิงแต่กลับถูกจับใส่กล่องเพศชาย พอเติบโตขึ้น สังคม LGBTQIA+ ก็บอกว่าเธอไม่เหมือน ‘กะเทย’ ในภาพจำของคนทั่วไป ยังไม่นับความจริงที่ว่า ทุกครั้งที่จะมีเซ็กซ์กับคู่เดต แทนที่จะฟินแต่เธอกลับรู้สึกอึดอัดและตั้งคำถาม หลายต่อหลายปีนาดาผ่านกระบวนการรื้อค้นตัวเองซ้ำแล้วซ้ำเล่า ทั้งการนิยามว่าอยากเรียกตัวเองว่าเพศอะไร ชอบเพศไหน และแน่นอน – คนแบบไหนที่จะมีเซ็กซ์ได้อย่างสบายใจโดยที่เธอไม่รู้สึกว่าถูกตัดสิน
กว่าจะเจอจุดที่เอนจอยในเรื่องเซ็กซ์ เธอต้องผ่านการทดลองมาไม่ต่างจากทุกความกำกวมในชีวิต
Sex is More เปิดศักราชใหม่ด้วยการพาคุณผู้ฟังไปเปิดโลกของ I ตัวอักษรสุดลึกลับใน LGBTQIA+ ซึ่งย่อมาจาก Intersex หรือ ‘เพศกำกวม’ คำที่หลายคนอาจคุ้นๆ ว่ามันคือภาวะการมีอวัยวะเพศชายและหญิงอยู่ในร่างเดียวกัน ลบภาพจำนั้นไปก่อน เพราะอินเตอร์เซ็กซ์มีมิติที่หลากหลายและซับซ้อนมากกว่านั้น ใน EP นี้ ลูกแก้ว LGBTQIA+ ผู้นิยามตัวเองว่าเป็น ‘อินเตอร์เซ็กซ์-ข้ามเพศ’ ที่เกิดมาพร้อมกับอวัยวะเพศชายที่เล็กมาก มีท่อปัสสาวะอยู่ด้านใต้แทนที่จะอยู่ตรงกลาง ตั้งแต่เด็ก นาดาเข้าใจว่าตัวเองเป็นผู้หญิงแต่กลับถูกจับใส่กล่องเพศชาย พอเติบโตขึ้น สังคม LGBTQIA+ ก็บอกว่าเธอไม่เหมือน ‘กะเทย’ ในภาพจำของคนทั่วไป ยังไม่นับความจริงที่ว่า ทุกครั้งที่จะมีเซ็กซ์กับคู่เดต แทนที่จะฟินแต่เธอกลับรู้สึกอึดอัดและตั้งคำถาม หลายต่อหลายปีนาดาผ่านกระบวนการรื้อค้นตัวเองซ้ำแล้วซ้ำเล่า ทั้งการนิยามว่าอยากเรียกตัวเองว่าเพศอะไร ชอบเพศไหน และแน่นอน – คนแบบไหนที่จะมีเซ็กซ์ได้อย่างสบายใจโดยที่เธอไม่รู้สึกว่าถูกตัดสิน
กว่าจะเจอจุดที่เอนจอยในเรื่องเซ็กซ์ เธอต้องผ่านการทดลองมาไม่ต่างจากทุกความกำกวมในชีวิต
Sex is More เปิดศักราชใหม่ด้วยการพาคุณผู้ฟังไปเปิดโลกของ I ตัวอักษรสุดลึกลับใน LGBTQIA+ ซึ่งย่อมาจาก Intersex หรือ ‘เพศกำกวม’ คำที่หลายคนอาจคุ้นๆ ว่ามันคือภาวะการมีอวัยวะเพศชายและหญิงอยู่ในร่างเดียวกัน ลบภาพจำนั้นไปก่อน โชติรส โฮสต์ของเราพาไปคุยกับ ‘นาดา ไชยจิตต์’ นักกฎหมายและนักรณรงค์เพื่อสิทธิ LGBTQIA+ ผู้นิยามตัวเองว่าเป็น ‘อินเตอร์เซ็กซ์-ข้ามเพศ’ ที่เกิดมาพร้อมกับอวัยวะเพศชายที่เล็กมาก มีท่อปัสสาวะอยู่ด้านใต้แทนที่จะอยู่ตรงกลาง ตั้งแต่เด็ก นาดาเข้าใจว่าตัวเองเป็นผู้หญิงแต่กลับถูกจับใส่กล่องเพศชาย พอเติบโตขึ้น สังคม LGBTQIA+ ก็บอกว่าเธอไม่เหมือน ‘กะเทย’ ในภาพจำของคนทั่วไป ยังไม่นับความจริงที่ว่า ทุกครั้งที่จะมีเซ็กซ์กับคู่เดต แทนที่จะฟินแต่เธอกลับรู้สึกอึดอัดและตั้งคำถาม หลายต่อหลายปีนาดาผ่านกระบวนการรื้อค้นตัวเองซ้ำแล้วซ้ำเล่า ทั้งการนิยามว่าอยากเรียกตัวเองว่าเพศอะไร ชอบเพศไหน และแน่นอน – คนแบบไหนที่จะมีเซ็กซ์ได้อย่างสบายใจโดยที่เธอไม่รู้สึกว่าถูกตัดสิน กว่าจะเจอจุดที่เอนจอยในเรื่องเซ็กซ์ เธอต้องผ่านการทดลองมาไม่ต่างจากทุกความกำกวมในชีวิต
3 PULSE Clinic
Sex is More เปิดศักราชใหม่ด้วยการพาคุณผู้ฟังไปเปิดโลกของ I ตัวอักษรสุดลึกลับใน LGBTQIA+ ซึ่งย่อมาจาก Intersex ลบภาพจำนั้น โชติรส โฮสต์ของเราพาไปคุยกับ ‘นาดา ไชยจิตต์’ นักกฎหมายและนักรณรงค์เพื่อสิทธิ LGBTQIA+ ผู้นิยามตัวเองว่าเป็น ‘อินเตอร์เซ็กซ์-ข้ามเพศ’ ตั้งแต่เด็ก นาดาเข้าใจว่าตัวเองเป็นผู้หญิงแต่กลับถูกจับใส่กล่องเพศชาย พอเติบโตขึ้น สังคม LGBTQIA+ ก็บอกว่าเธอไม่เหมือน ‘กะเทย’ ในภาพจำของคนทั่วไป ยังไม่นับความจริงที่ว่า ทุกครั้งที่จะมีเซ็กซ์กับคู่เดต แทนที่จะฟินแต่เธอกลับรู้สึกอึดอัดและตั้งคำถาม หลายต่อหลายปีนาดาผ่านกระบวนการรื้อค้นตัวเองซ้ำแล้วซ้ำเล่า ทั้งการนิยามว่าอยากเรียกตัวเองว่าเพศอะไร ชอบเพศไหน และแน่นอน – คนแบบไหนที่จะมีเซ็กซ์ได้อย่างสบายใจโดยที่เธอไม่รู้สึกว่าถูกตัดสิน
กว่าจะเจอจุดที่เอนจอยในเรื่องเซ็กซ์ เธอต้องผ่านการทดลองมาไม่ต่างจากทุกความกำกวมในชีวิต
2
Sex is More เปิดศักราชใหม่ด้วยการพาคุณผู้ฟังไปเปิดโลกของ I ตัวอักษรสุดลึกลับใน LGBTQIA+ ซึ่งย่อมาจาก Intersex หรือ ‘เพศกำกวม’ คำที่หลายคนอาจคุ้นๆ ว่ามันคือภาวะการมีอวัยวะเพศชายและหญิงอยู่ในร่างเดียวกัน ลบภาพจำนั้นไปก่อน เพราะอินเตอร์เซ็กซ์มีมิติที่หลากหลายและซับซ้อนมากกว่านั้น ใน EP นี้ ลูกแก้ว โชติรส โฮสต์ของเราพาไปคุยกับ ‘นาดา ไชยจิตต์’ นักกฎหมายและนักรณรงค์เพื่อสิทธิ LGBTQIA+ ผู้นิยามตัวเองว่าเป็น ‘อินเตอร์เซ็กซ์-ข้ามเพศ’ ที่เกิดมาพร้อมกับอวัยวะเพศชายที่เล็กมาก มีท่อปัสสาวะอยู่ด้านใต้แทนที่จะอยู่ตรงกลาง และมีถุงอัณฑะขนาดเล็กที่ราบเรียบจนเหมือนแคมของเพศหญิงประสานติดกัน
ตั้งแต่เด็ก นาดาเข้าใจว่าตัวเองเป็นผู้หญิงแต่กลับถูกจับใส่กล่องเพศชาย พอเติบโตขึ้น สังคม LGBTQIA+ ก็บอกว่าเธอไม่เหมือน ‘กะเทย’ ในภาพจำของคนทั่วไป ยังไม่นับความจริงที่ว่า แทนที่จะฟินแต่เธอกลับรู้สึกอึดอัดและตั้งคำถาม หลายต่อหลายปีนาดาผ่านกระบวนการรื้อค้นตัวเองซ้ำแล้วซ้ำเล่า ทั้งการนิยามว่าอยากเรียกตัวเองว่าเพศอะไร ชอบเพศไหน และแน่นอน – คนแบบไหนที่จะมีเซ็กซ์ได้อย่างสบายใจโดยที่เธอไม่รู้สึกว่าถูกตัดสิน
กว่าจะเจอจุดที่เอนจอยในเรื่องเซ็กซ์ เธอต้องผ่านการทดลองมาไม่ต่างจากทุกความกำกวมในชีวิต
FORFUN Bangkok
Sex is More เปิดศักราชใหม่ด้วยการพาคุณผู้ฟังไปเปิดโลกของ I ตัวอักษรสุดลึกลับใน LGBTQIA+ ซึ่งย่อมาจาก Intersex ใน EP นี้ ลูกแก้ว โชติรส โฮสต์ของเราพาไปคุยกับ ‘นาดา ไชยจิตต์’ นักกฎหมายและนักรณรงค์เพื่อสิทธิ LGBTQIA+ มีท่อปัสสาวะอยู่ด้านใต้แทนที่จะอยู่ตรงกลาง และมีถุงอัณฑะขนาดเล็กที่ราบเรียบจนเหมือนแคมของเพศหญิงประสานติดกัน
ตั้งแต่เด็ก นาดาเข้าใจว่าตัวเองเป็นผู้หญิงแต่กลับถูกจับใส่กล่องเพศชาย พอเติบโตขึ้น สังคม LGBTQIA+ ก็บอกว่าเธอไม่เหมือน ‘กะเทย’ ในภาพจำของคนทั่วไป ยังไม่นับความจริงที่ว่า ทุกครั้งที่จะมีเซ็กซ์กับคู่เดต แทนที่จะฟินแต่เธอกลับรู้สึกอึดอัดและตั้งคำถาม หลายต่อหลายปีนาดาผ่านกระบวนการรื้อค้นตัวเองซ้ำแล้วซ้ำเล่า ทั้งการนิยามว่าอยากเรียกตัวเองว่าเพศอะไร ชอบเพศไหน และแน่นอน – คนแบบไหนที่จะมีเซ็กซ์ได้อย่างสบายใจโดยที่เธอไม่รู้สึกว่าถูกตัดสิน
กว่าจะเจอจุดที่เอนจอยในเรื่องเซ็กซ์ เธอต้องผ่านการทดลองมาไม่ต่างจากทุกความกำกวมในชีวิต