บางปัญหาเริ่มแก้จากตัวเราไม่ได้ ‘Jugaad’ ความครีเอทีฟเฉพาะหน้าที่สะท้อนปัญหาเชิงโครงสร้าง

บางปัญหาเริ่มแก้จากตัวเราไม่ได้ ‘Jugaad’ ความครีเอทีฟเฉพาะหน้าที่สะท้อนปัญหาเชิงโครงสร้าง

เมื่อประเทศอยู่ในสภาวะวิกฤต หลายครั้งที่เราเห็นคนไทยพยายามแก้ปัญหาเฉพาะหน้าด้วยวิธีเอาตัวรอดที่หลากหลายและ ‘ครีเอทีฟ’ อย่างตอนเหตุการณ์น้ำท่วมใหญ่ เราเคยเห็นประชาชนเอาเก้าอี้มาทำเป็นรองเท้าสำหรับเดินในที่ที่น้ำท่วมขัง หรือสร้างเรือจากวัสดุเหลือใช้อย่างขวดน้ำ ภาพเหล่านี้ชวนให้เราประหลาดใจและแอบอมยิ้มในความคิดสร้างสรรค์ ขณะเดียวกันก็ชื่นชมความหัวไวต่อสถานการณ์อันยากลำบาก Jugaad

ในประเทศอินเดีย แนวคิดการแก้ปัญหาเพื่อเอาตัวรอดเฉพาะกาลแบบนี้มีคำศัพท์ไว้เรียกเฉพาะ นั่นคือคำว่า Jugaad ซึ่งเริ่มเป็นที่รู้จักในวงการนวัตกรรมจากการแปลเป็นคำภาษาอังกฤษว่า ‘Frugal Innovation’ หรือ ‘นวัตกรรมมัธยัสถ์’ แต่มากกว่าการประดิษฐ์สิ่งของเพื่อเอาตัวรอดด้วยความคิดสร้างสรรค์ คำคำนี้ยังมีอีกหลายเรื่องราวที่ซ่อนอยู่เบื้องหลัง เราเลยหยิบมาเขียนให้ชวนสำรวจไปด้วยกัน

Jugaad ความฉลาดเฉพาะหน้าและการแก้ปัญหาจากความขาดแคลน

Jugaad แปลว่า การแก้ปัญหาเฉพาะหน้าโดยใช้ทางลัด การพลิกแพลง ดัดแปลงเพื่อเอาตัวรอด (hack, workaround) หรือการแก้ปัญหาอย่างยืดหยุ่นโดยอาศัยภูมิปัญญา โดย Collins Dictionary ให้ความหมายไว้ว่า การแก้ปัญหาอย่างมีไหวพริบ (a resourceful approach to problem-solving) 

คำคำนี้เป็นคำในภาษาพูดของอินเดียที่คนในประเทศรู้จักและเข้าใจดี ปรากฏทั้งในภาษาฮินดู ภาษาอูรดู และภาษาปัญจาบ ย้อนกลับไปยังจุดเริ่มต้น คำว่า jugaad เกิดขึ้นในวัฒนธรรมที่ผู้คนต้องพยายามคิดนอกกรอบอย่างสร้างสรรค์เพื่อหาทางออกกับสถานการณ์ตรงหน้า เป็นการแก้ปัญหาแบบปัจจุบันทันด่วน แก้ขัดไปก่อนเพื่อให้ชีวิตดำเนินต่อไปได้แม้ต้องเผชิญกับวิกฤต อุปสรรค หรือความขัดสน

ลองนึกถึงสิ่งประดิษฐ์เพื่อแก้ปัญหาเฉพาะหน้าอย่างเร่งด่วน เช่น การดัดแปลงสิ่งของที่มีอยู่ให้เกิดฟังก์ชั่นบางอย่างที่ตอบโจทย์เราได้โดยไม่ต้องซื้อใหม่ ยกตัวอย่างจากเหตุการณ์ในประเทศอินเดียเมื่อครูอาจารย์ทั้งหลายต้องสอนออนไลน์เพราะโควิด-19

  • คุณครูชาวอินเดียปิ๊งไอเดียนำเอาถาดใสในตู้เย็นมาวางบนภาชนะให้สามารถวางมือถือถ่ายคลิประหว่างสอนออนไลน์ได้ โดยที่ตัวเองไม่ต้องถือมือถือไปด้วยตอนเขียน
  • คุณครูอีกคนสร้างที่แขวนมือถือจากของที่มี ให้สามารถถ่ายตัวเองตอนสอนออนไลน์ได้

ได้เห็นตัวอย่างคงจะพอคุ้นกับจิตวิญญาณความเอาตัวรอดแบบ jugaad ซึ่งอันที่จริงแล้วคนไทยเราก็ไม่น้อยหน้าไปกว่าชาวอินเดียเลย อย่างการเอาตัวรอดในวิกฤตน้ำท่วมที่ผ่านมา แสดงให้เห็นว่าเราเองก็แสนจะคุ้นเคยกับการเอาตัวรอดในคราววิกฤต ซึ่งมักจะสอดแทรกอารมณ์ขันท่ามกลางความลำบากและภัยธรรมชาติเสมอ

หากจะให้ครุ่นคิดถึงเหตุผลที่ทำให้อินเดียเป็นจุดกำเนิดของคำคำนี้ อาจเพราะที่นั่นเป็นประเทศใหญ่ที่มีความหลากหลายทางวัฒนธรรม และมีประชากรจำนวนมากเป็นคนจนผู้อาศัยในเขตชนบท พวกเขาอยู่ในภาวะที่เข้าไม่ถึงเทคโนโลยี การศึกษา และโครงสร้างพื้นฐาน ข้อจำกัดเหล่านี้บีบบังคับให้ผู้คนต้องคิดนอกกรอบ และต้องหาทางลัดหรือทางประหยัดในการสร้างสิ่งจำเป็นเพื่อเอาชีวิตรอด หรือกระทั่งซ่อมแซมของเก่าแบบปะติดปะต่อเพื่อให้มีอายุการใช้งานยืนยาวขึ้น

แม้ผลลัพธ์จะดูพิสดาร ผิดแผกหลุดไปจากวิธีปฏิบัติปกติ และไม่แน่ใจเลยว่าจะยั่งยืนไหมในระยะยาว แต่ในเวลาเดียวกันการแก้ปัญหาเหล่านี้ก็น่าสนใจเป็นอย่างมาก 

Jugaad
ยานพาหนะจากขวดน้ำ
ภาพจาก nomorefunny.blogspot.com

Frugal Innovation นวัตกรรมมัธยัสถ์ จากอารมณ์ขันสู่ไหวพริบ เพื่อสร้างผลิตภัณฑ์ของคนยากไร้

ในช่วงหลายปีที่ผ่านมา คำว่า jugaad ได้ถูกพูดถึงมากขึ้นในแวดวงเทคโนโลยีทั้งในเชิงการออกแบบและวิศวกรรม การสร้างนวัตกรรมใหม่ๆ ภายใต้ข้อจำกัดได้ถูกสรรเสริญในโลกตะวันตก ทำให้คำคำนี้ได้ถูกแปลเป็น Frugal Innovation หรือนวัตกรรมมัธยัสถ์ ซึ่งเป็นไอเดียของนวัตกรรมที่สรรเสริญความเรียบง่ายและความประหยัดอันเกิดจากการมีข้อจำกัด เพื่อสร้างผลิตภัณฑ์ที่ตอบโจทย์การใช้งาน มีคุณภาพ และดีพอที่จะแก้ปัญหาของผู้บริโภค

ในปี 2015 มีหนังสือของสำนักพิมพ์ The Economist ชื่อ Frugal Innovation: How to do more with less เขียนโดย Jaideep Prabhu และ Navi Radjou เป็นเล่มที่รวบรวมตัวอย่างและอธิบายถึงแนวคิดสุดสร้างสรรค์ของ jugaad เพื่อสร้างแรงบันดาลใจให้นักประดิษฐ์และผู้ประกอบการได้นำหลักคิดนอกกรอบนี้ไปใช้ โดยมีเป้าหมายเพื่อคิดค้นผลิตภัณฑ์ภายใต้ข้อจำกัดและตระหนักถึงทรัพยากรโลกที่ลดลง สร้างความยืดหยุ่นในองค์กร และเข้าใจถึงความต้องการของคนหมู่มาก–ผู้อยู่ในระดับล่างของพีระมิดและเข้าไม่ถึงทรัพยากรบางส่วน

Jugaad
Frugal Innovation: How to do more with less
โดย Jaideep Prabhu และ Navi Radjou

หนังสือ Frugal Innovation ได้อธิบายว่า เดิมทีแล้วแนวคิด jugaad นั้นถูกมองว่าเป็นวิธีการคิดและผลิตสำหรับตลาดคนยากจนเท่านั้น ซึ่งลักษณะของนวัตกรรมมัธยัสถ์มีทั้งหมด 4 ประการ ได้แก่

  • เครื่องมือและเทคนิคแบบลีน (Lean tools and techniques) หรือหลักการแห่งความเรียบง่ายเพื่อลดต้นทุนอย่างสุดขั้ว
  • ทางออกแบบฉกฉวย (Opportunist solution) ใช้เทคโนโลยีล้ำหน้าเพื่อแก้ปัญหา เช่น แนวคิดการพิมพ์ 3D เพื่อสร้างอวัยวะเทียม
  • การปรับใช้ข้ามบริบท (Contextualized adaptations) เช่น หลอดไฟโซลาร์เซลล์ดัดแปลงจากขวดน้ำในสลัมที่มะนิลา ประเทศฟิลิปปินส์
  • นวัตกรรมภูมิปัญญาท้องถิ่น (Bottom-up innovation) เช่น การนำของเดิมที่มีอยู่มาปรับใช้เพื่อแก้ปัญหา 

ตัวอย่างผลิตภัณฑ์แบบนวัตกรรมมัธยัสถ์จากอินเดียที่ถูกหยิบมาชื่นชมอยู่บ่อยครั้ง คือตู้เย็นไร้ไฟฟ้าแบรนด์ Mitticool ที่ทำจากวัสดุดินเผาเทอร์ราคอตต้า โดยอาศัยเทคโนโลยีดั้งเดิมคือการเติมน้ำให้ระเหยเพื่อรักษาความเย็น นอกจากไม่ต้องพึ่งไฟฟ้า ตู้เย็นประเภทนี้ยังมีราคาแสนถูก เหมาะกับคนอินเดียจำนวนมากซึ่งอาศัยอยู่นอกระบบสาธารณูปโภคพื้นฐาน ทำให้พวกเขาไม่ต้องสิ้นเปลืองพลังงาน แถมยังเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม

mitticool.com

แน่นอนว่าตู้เย็นประเภทนี้อาจเป็นการแก้ปัญหาเฉพาะหน้า แต่การมีอยู่ของมันก็แอบบอกถึงปัญหาขนาดใหญ่อย่างการเข้าไม่ถึงไฟฟ้าของประชาชนที่ยากไร้ของประเทศไปด้วย

หากพิจารณาดู ตัวอย่างของนวัตกรรมมัธยัสถ์นั้นมักมาจากบริบทของชุมชนในฝั่งโลกที่กำลังพัฒนา ซึ่งมีประชากรยากไร้ผู้เข้าไม่ถึงปัจจัยพื้นฐานมากมาย นักประดิษฐ์จึงต้องมองหาวิธีคิดแบบใหม่เพื่อแก้ขัดให้พวกเขาไปก่อน โดยเจดีปผู้เขียนหนังสือเชื่อว่า วิธีคิดแบบโลกที่พัฒนาแล้วและกำลังพัฒนากำลังเคลื่อนที่เข้าหากัน และการพบกันนี้จะทำให้เกิดแนวทางสร้างสรรค์ใหม่ๆ เขาเชื่อว่าแนวคิด ‘Future is bright, futures is frugal.’ จะทำให้อนาคตสดใส เรากำลังเข้าสู่ภาวะที่คนในโลกพัฒนาแล้วจะใช้ทรัพยากรอย่างประหยัดและคิดถึงคนส่วนใหญ่มากขึ้น

ในช่วง 10 ปีที่ผ่านมา คำว่า jugaad ได้โผล่มาเรื่อยๆ ตามสื่อต่างๆ จนกลายเป็น buzzword หรือคำฮิต และ toolkit หรือกระบวนการ / เครื่องมือในวงการนวัตกรรม คำคำนี้ช่วยชี้ทางให้ธุรกิจสมัยใหม่ได้พลิกมุมมองและประหยัดทรัพยากรเพื่อผลิตสินค้าและบริการให้ได้กำไร สร้างโอกาสและมูลค่าในตลาดที่กำลังเติบโต

มากไปกว่าการผลิตให้มีราคาถูกลงเพื่อผู้บริโภคที่ยากจน หรือมองเป็นเทคนิคการลดต้นทุนของบริษัทใหญ่ หัวใจของ jugaad คือการเปลี่ยนวิธีการทำความเข้าใจในความต้องการที่แท้จริงของผู้บริโภคผู้อยู่ฐานล่างสุดของพีระมิด (bottom-of-the pyramid consumers) มองหาปัญหาที่แท้จริงและแก้มันอย่างตรงจุด เปลี่ยนวิธีการจัดการ ลดขั้นตอนที่สิ้นเปลือง ปรับหลักคิดการบริหารธุรกิจใหม่เพื่อตอบรับโลกที่กำลังเปลี่ยนแปลง

โลกที่พัฒนาแล้วที่เคยชินกับการจับจ่าย ผลิต และบริโภคอย่างสิ้นเปลืองได้ปรับวิธีคิดแบบ throwaway culture หรือวัฒนธรรมใช้แล้วทิ้ง ที่เดิมผู้บริโภคเคยชินกับการทิ้งของที่พังมากกว่าซ่อม มาเป็นการใช้อย่างยาวนานที่สุด ให้คุ้มกับทรัพยากรธรรมชาติที่ถูกแสวงมา เพื่อแก้ปัญหาขยะจากเครื่องใช้ไฟฟ้าที่เพิ่มจำนวนขึ้นอย่างมหาศาลในทุกๆ ปี กรณีหนึ่งที่น่าสนใจคือ จากผลสำรวจแล้ว ประชากรในสหภาพยุโรปผลิตขยะอิเล็กทรอนิกส์ประมาณ 16 กิโลกรัมต่อคน สหภาพยุโรปจึงผลักดันประเด็นสิทธิในการซ่อม (right to repair)’ที่ผู้ผลิตเครื่องใช้ไฟฟ้าในยุโรปต้องรับประกันได้ว่าสินค้าที่ตนผลิตออกมาจะซ่อมแซมได้ภายในระยะเวลา 10 ปีของการใช้งาน 

นิตยสารเกี่ยวกับเทคโนโลยีอย่าง Fast Company ยังออกบทความมาถอดบทเรียนและชื่นชมความลื่นไหลในการแก้ปัญหาของชาวอินเดียในช่วงที่โควิดกำลังระบาด เป็นที่รู้กันว่าจำนวนคนอินเดียที่เจ็บป่วยและล้มตายนั้นสูงมาก หลายคนจึงต้องหยิบเอาทักษะการเอาตัวรอดมาใช้ในช่วงวิกฤต เช่น

  • เภสัชกรชาวอินเดียได้ดัดแปลงออกซิเจนโฟลมิเตอร์ (อุปกรณ์ที่ใช้สำหรับควบคุมการไหลของออกซิเจน) ทำให้ช่วยชีวิตคนได้มากกว่า 60 ชีวิต
  • คนในมุมไบทำ air bubble (อุปกรณ์ขนาดใหญ่ที่ใช้ครอบตัวเพื่อป้องกันการสัมผัสกับผู้อื่น) ด้วยการดัดแปลงของที่มีอยู่แล้วเพื่อขึ้นขนส่งมวลชนได้อย่างสบายใจ โดยภาพนี้ได้กลายเป็นไวรัลไปทั่วโลก

ความสร้างสรรค์เพื่อเอาตัวรอดในชีวิตประจำวัน แก้ปัญหาโครงสร้างระยะยาวไม่ได้

แม้ jugaad จะปลุกสัญชาตญาณและความสร้างสรรค์ในตัวมนุษย์ที่พร้อมจะพลิกแพลง ดัดแปลง และหาทางออกท่ามกลางวิกฤตที่ดูเหมือนไร้ซึ่งทางออก แต่เนื่องจาก jugaad เป็นแนวคิดที่แพร่หลายในประเทศพหุวัฒนธรรมอย่างอินเดีย ทำให้ย่อมมีคนไม่เห็นด้วยที่แปลคำว่า jugaad เป็น Frugal Innovation ตรงๆ อย่างที่บทความตะวันตกตีความ

บ้างก็แย้งว่า jugaad คือการทำให้ความยากจนขาดแคลนนั้นดูดี ดูเท่ แก้ไขได้แค่ปัญหาเฉพาะหน้าในระยะสั้น เพียงชั่วครั้งชั่วคราว ซึ่งเกิดขึ้นแบบไร้การวางแผนและทำซ้ำหรือทำตามได้ยาก เพราะแต่ละคน แต่ละบ้าน ล้วนมีทรัพยากร ทักษะ และต้นทุนต่างกันออกไป บางคนก็มองว่าการสรรเสริญ jugaad คือการชื่นชมการเอาตัวรอดของคนจน (glorify poverty) จนละเลยต้นตอปัญหาเชิงโครงสร้างที่แท้จริง และเป็นการฉกฉวยเอาแนวคิดท้องถิ่นของวัฒนธรรมหนึ่งไปใช้ในโลกธุรกิจหรือรับใช้ทุนนิยม ทั้งๆ ที่บริบทสถานการณ์ต่างกันมาก

ในภาวะยากลำบาก ประชาชนจำนวนมากชินชากับการพึ่งตัวเองเพื่อเอาตัวรอด jugaad เป็นสัญญาณบอกว่าประชากรนั้นขาดแคลน จึงต้องพยายามสร้างสรรค์พลิกแพลงบางอย่างให้ตอบโจทย์ชีวิตพวกเขา มันช่วยบ่งบอกว่าแท้จริงแล้วระบบโครงสร้างนี้ยังขาดอะไร และระบบจะพัฒนาปรับปรุงยังไงจึงจะช่วยอำนวยให้ประชาชนมีชีวิตที่ดีขึ้นได้อย่างเท่าเทียมกัน นอกจากนี้การเกิดขึ้นของ jugaad ยังเป็นการส่งเสียงว่าคนจนนั้นมีความสามารถ มีศักยภาพ และมีความคิดสร้างสรรค์ที่เกินคาด เพียงแต่ขาดโอกาสและเข้าไม่ถึงทรัพยากรและเงินทุนเท่านั้น

แน่นอนว่าแนวคิดแบบ jugaad อาจไม่สามารถแก้ปัญหาโครงสร้างในระดับมหภาคได้ เพราะหลายเรื่องเรียกร้องการวางแผนอย่างถ้วนถี่รอบคอบ เช่น การเข้าถึงประกันสุขภาพ การเข้าถึงสวัสดิการหรือโครงสร้างพื้นฐาน ภาวะการขาดแคลนเครื่องมือแพทย์ ฯลฯ

กระนั้นเอง การมีอยู่ของ jugaad ก็ได้สะท้อนให้เห็นถึงปัญหาแท้จริงที่แฝงซ่อนอยู่ในระดับมหภาค ซึ่งไม่สามารถแก้ได้เฉพาะหน้าหรือชั่วครั้งชั่วคราว ที่สำคัญที่สุด มันคือหลักฐานชิ้นใหญ่ที่บอกว่าทุกปัญหานั้นเริ่มแก้จากตัวเราไม่ได้เสมอไป เช่น การได้มาซึ่งวัคซีนที่มีประสิทธิภาพและเพียงพอต่อความต้องการ เพราะเห็นได้ชัดว่าเราไม่สามารถผลิตวัคซีนเองได้ ต้องพึ่งพาให้รัฐจัดหา หรืออย่างการมีระบบสาธารณสุขที่ดีมากพอที่จะไม่ทิ้งให้ใครต้องตายที่บ้านหรือข้างถนน ปัญหาเหล่านี้ใช้เวลายาวนานในการวางแผน ใช้ทรัพยากรมากมาย และเป็นปัญหาใหญ่เกินกว่าที่เราหรือเพื่อนเราจะมาร่วมมือกันแก้

สรุปคือ ถึงแม้ว่า jugaad จะเป็นความหัวใสในการแก้ปัญหาเฉพาะหน้า แต่มันก็ไม่อาจนำพาชาติให้ผ่านพ้นวิกฤตไปได้ ขณะเดียวกันมันก็ไม่ใช่ความผิดบาปของผู้คนที่พยายามอย่างสุดความสามารถเพื่อเอาชีวิตรอด เพราะโครงสร้างสังคมไม่เอื้อให้พวกเขารอดชีวิตได้เลย

อ้างอิง

amazon.com

bbc.com

cam.ac.uk

imd.org

mitticool.com

newindianexpress.com

nomorefunny.blogspot.com

semanticscholar.org

sdgmove.com

theprint.in

1

11เมื่อประเทศอยู่ในสภาวะวิกฤต หลายครั้งที่เราเห็นคนไทยพยายามแก้ปัญหาเฉพาะหน้าด้วยวิธีเอาตัวรอดที่หลากหลายและ ‘ครีเอทีฟ’ อย่างตอนเหตุการณ์น้ำท่วมใหญ่ เราเคยเห็นประชาชนเอาเก้าอี้มาทำเป็นรองเท้าสำหรับเดินในที่ที่น้ำท่วมขัง หรือสร้างเรือจากวัสดุเหลือใช้อย่างขวดน้ำ ภาพเหล่านี้ชวนให้เราประหลาดใจและแอบอมยิ้มในความคิดสร้างสรรค์ ขณะเดียวกันก็ชื่นชมความหัวไวต่อสถานการณ์อันยากลำบาก

12เมื่อประเทศอยู่ในสภาวะวิกฤต หลายครั้งที่เราเห็นคนไทยพยายามแก้ปัญหาเฉพาะหน้าด้วยวิธีเอาตัวรอดที่หลากหลายและ ‘ครีเอทีฟ’ อย่างตอนเหตุการณ์น้ำท่วมใหญ่ เราเคยเห็นประชาชนเอาเก้าอี้มาทำเป็นรองเท้าสำหรับเดินในที่ที่น้ำท่วมขัง หรือสร้างเรือจากวัสดุเหลือใช้อย่างขวดน้ำ ภาพเหล่านี้ชวนให้เราประหลาดใจและแอบอมยิ้มในความคิดสร้างสรรค์ ขณะเดียวกันก็ชื่นชมความหัวไวต่อสถานการณ์อันยากลำบาก

2

21เมื่อประเทศอยู่ในสภาวะวิกฤต หลายครั้งที่เราเห็นคนไทยพยายามแก้ปัญหาเฉพาะหน้าด้วยวิธีเอาตัวรอดที่หลากหลายและ ‘ครีเอทีฟ’ อย่างตอนเหตุการณ์น้ำท่วมใหญ่ เราเคยเห็นประชาชนเอาเก้าอี้มาทำเป็นรองเท้าสำหรับเดินในที่ที่น้ำท่วมขัง หรือสร้างเรือจากวัสดุเหลือใช้อย่างขวดน้ำ ภาพเหล่านี้ชวนให้เราประหลาดใจและแอบอมยิ้มในความคิดสร้างสรรค์ ขณะเดียวกันก็ชื่นชมความหัวไวต่อสถานการณ์อันยากลำบาก

22เมื่อประเทศอยู่ในสภาวะวิกฤต หลายครั้งที่เราเห็นคนไทยพยายามแก้ปัญหาเฉพาะหน้าด้วยวิธีเอาตัวรอดที่หลากหลายและ ‘ครีเอทีฟ’ อย่างตอนเหตุการณ์น้ำท่วมใหญ่ เราเคยเห็นประชาชนเอาเก้าอี้มาทำเป็นรองเท้าสำหรับเดินในที่ที่น้ำท่วมขัง หรือสร้างเรือจากวัสดุเหลือใช้อย่างขวดน้ำ ภาพเหล่านี้ชวนให้เราประหลาดใจและแอบอมยิ้มในความคิดสร้างสรรค์ ขณะเดียวกันก็ชื่นชมความหัวไวต่อสถานการณ์อันยากลำบาก

3

31เมื่อประเทศอยู่ในสภาวะวิกฤต หลายครั้งที่เราเห็นคนไทยพยายามแก้ปัญหาเฉพาะหน้าด้วยวิธีเอาตัวรอดที่หลากหลายและ ‘ครีเอทีฟ’ อย่างตอนเหตุการณ์น้ำท่วมใหญ่ เราเคยเห็นประชาชนเอาเก้าอี้มาทำเป็นรองเท้าสำหรับเดินในที่ที่น้ำท่วมขัง หรือสร้างเรือจากวัสดุเหลือใช้อย่างขวดน้ำ ภาพเหล่านี้ชวนให้เราประหลาดใจและแอบอมยิ้มในความคิดสร้างสรรค์ ขณะเดียวกันก็ชื่นชมความหัวไวต่อสถานการณ์อันยากลำบาก

32เมื่อประเทศอยู่ในสภาวะวิกฤต หลายครั้งที่เราเห็นคนไทยพยายามแก้ปัญหาเฉพาะหน้าด้วยวิธีเอาตัวรอดที่หลากหลายและ ‘ครีเอทีฟ’ อย่างตอนเหตุการณ์น้ำท่วมใหญ่ เราเคยเห็นประชาชนเอาเก้าอี้มาทำเป็นรองเท้าสำหรับเดินในที่ที่น้ำท่วมขัง หรือสร้างเรือจากวัสดุเหลือใช้อย่างขวดน้ำ ภาพเหล่านี้ชวนให้เราประหลาดใจและแอบอมยิ้มในความคิดสร้างสรรค์ ขณะเดียวกันก็ชื่นชมความหัวไวต่อสถานการณ์อันยากลำบาก

4

41เมื่อประเทศอยู่ในสภาวะวิกฤต หลายครั้งที่เราเห็นคนไทยพยายามแก้ปัญหาเฉพาะหน้าด้วยวิธีเอาตัวรอดที่หลากหลายและ ‘ครีเอทีฟ’ อย่างตอนเหตุการณ์น้ำท่วมใหญ่ เราเคยเห็นประชาชนเอาเก้าอี้มาทำเป็นรองเท้าสำหรับเดินในที่ที่น้ำท่วมขัง หรือสร้างเรือจากวัสดุเหลือใช้อย่างขวดน้ำ ภาพเหล่านี้ชวนให้เราประหลาดใจและแอบอมยิ้มในความคิดสร้างสรรค์ ขณะเดียวกันก็ชื่นชมความหัวไวต่อสถานการณ์อันยากลำบาก

42เมื่อประเทศอยู่ในสภาวะวิกฤต หลายครั้งที่เราเห็นคนไทยพยายามแก้ปัญหาเฉพาะหน้าด้วยวิธีเอาตัวรอดที่หลากหลายและ ‘ครีเอทีฟ’ อย่างตอนเหตุการณ์น้ำท่วมใหญ่ เราเคยเห็นประชาชนเอาเก้าอี้มาทำเป็นรองเท้าสำหรับเดินในที่ที่น้ำท่วมขัง หรือสร้างเรือจากวัสดุเหลือใช้อย่างขวดน้ำ ภาพเหล่านี้ชวนให้เราประหลาดใจและแอบอมยิ้มในความคิดสร้างสรรค์ ขณะเดียวกันก็ชื่นชมความหัวไวต่อสถานการณ์อันยากลำบาก

5

51เมื่อประเทศอยู่ในสภาวะวิกฤต หลายครั้งที่เราเห็นคนไทยพยายามแก้ปัญหาเฉพาะหน้าด้วยวิธีเอาตัวรอดที่หลากหลายและ ‘ครีเอทีฟ’ อย่างตอนเหตุการณ์น้ำท่วมใหญ่ เราเคยเห็นประชาชนเอาเก้าอี้มาทำเป็นรองเท้าสำหรับเดินในที่ที่น้ำท่วมขัง หรือสร้างเรือจากวัสดุเหลือใช้อย่างขวดน้ำ ภาพเหล่านี้ชวนให้เราประหลาดใจและแอบอมยิ้มในความคิดสร้างสรรค์ ขณะเดียวกันก็ชื่นชมความหัวไวต่อสถานการณ์อันยากลำบาก

52เมื่อประเทศอยู่ในสภาวะวิกฤต หลายครั้งที่เราเห็นคนไทยพยายามแก้ปัญหาเฉพาะหน้าด้วยวิธีเอาตัวรอดที่หลากหลายและ ‘ครีเอทีฟ’ อย่างตอนเหตุการณ์น้ำท่วมใหญ่ เราเคยเห็นประชาชนเอาเก้าอี้มาทำเป็นรองเท้าสำหรับเดินในที่ที่น้ำท่วมขัง หรือสร้างเรือจากวัสดุเหลือใช้อย่างขวดน้ำ ภาพเหล่านี้ชวนให้เราประหลาดใจและแอบอมยิ้มในความคิดสร้างสรรค์ ขณะเดียวกันก็ชื่นชมความหัวไวต่อสถานการณ์อันยากลำบาก

6

61เมื่อประเทศอยู่ในสภาวะวิกฤต หลายครั้งที่เราเห็นคนไทยพยายามแก้ปัญหาเฉพาะหน้าด้วยวิธีเอาตัวรอดที่หลากหลายและ ‘ครีเอทีฟ’ อย่างตอนเหตุการณ์น้ำท่วมใหญ่ เราเคยเห็นประชาชนเอาเก้าอี้มาทำเป็นรองเท้าสำหรับเดินในที่ที่น้ำท่วมขัง หรือสร้างเรือจากวัสดุเหลือใช้อย่างขวดน้ำ ภาพเหล่านี้ชวนให้เราประหลาดใจและแอบอมยิ้มในความคิดสร้างสรรค์ ขณะเดียวกันก็ชื่นชมความหัวไวต่อสถานการณ์อันยากลำบาก

62เมื่อประเทศอยู่ในสภาวะวิกฤต หลายครั้งที่เราเห็นคนไทยพยายามแก้ปัญหาเฉพาะหน้าด้วยวิธีเอาตัวรอดที่หลากหลายและ ‘ครีเอทีฟ’ อย่างตอนเหตุการณ์น้ำท่วมใหญ่ เราเคยเห็นประชาชนเอาเก้าอี้มาทำเป็นรองเท้าสำหรับเดินในที่ที่น้ำท่วมขัง หรือสร้างเรือจากวัสดุเหลือใช้อย่างขวดน้ำ ภาพเหล่านี้ชวนให้เราประหลาดใจและแอบอมยิ้มในความคิดสร้างสรรค์ ขณะเดียวกันก็ชื่นชมความหัวไวต่อสถานการณ์อันยากลำบาก

7

71เมื่อประเทศอยู่ในสภาวะวิกฤต หลายครั้งที่เราเห็นคนไทยพยายามแก้ปัญหาเฉพาะหน้าด้วยวิธีเอาตัวรอดที่หลากหลายและ ‘ครีเอทีฟ’ อย่างตอนเหตุการณ์น้ำท่วมใหญ่ เราเคยเห็นประชาชนเอาเก้าอี้มาทำเป็นรองเท้าสำหรับเดินในที่ที่น้ำท่วมขัง หรือสร้างเรือจากวัสดุเหลือใช้อย่างขวดน้ำ ภาพเหล่านี้ชวนให้เราประหลาดใจและแอบอมยิ้มในความคิดสร้างสรรค์ ขณะเดียวกันก็ชื่นชมความหัวไวต่อสถานการณ์อันยากลำบาก

72เมื่อประเทศอยู่ในสภาวะวิกฤต หลายครั้งที่เราเห็นคนไทยพยายามแก้ปัญหาเฉพาะหน้าด้วยวิธีเอาตัวรอดที่หลากหลายและ ‘ครีเอทีฟ’ อย่างตอนเหตุการณ์น้ำท่วมใหญ่ เราเคยเห็นประชาชนเอาเก้าอี้มาทำเป็นรองเท้าสำหรับเดินในที่ที่น้ำท่วมขัง หรือสร้างเรือจากวัสดุเหลือใช้อย่างขวดน้ำ ภาพเหล่านี้ชวนให้เราประหลาดใจและแอบอมยิ้มในความคิดสร้างสรรค์ ขณะเดียวกันก็ชื่นชมความหัวไวต่อสถานการณ์อันยากลำบาก

8

81เมื่อประเทศอยู่ในสภาวะวิกฤต หลายครั้งที่เราเห็นคนไทยพยายามแก้ปัญหาเฉพาะหน้าด้วยวิธีเอาตัวรอดที่หลากหลายและ ‘ครีเอทีฟ’ อย่างตอนเหตุการณ์น้ำท่วมใหญ่ เราเคยเห็นประชาชนเอาเก้าอี้มาทำเป็นรองเท้าสำหรับเดินในที่ที่น้ำท่วมขัง หรือสร้างเรือจากวัสดุเหลือใช้อย่างขวดน้ำ ภาพเหล่านี้ชวนให้เราประหลาดใจและแอบอมยิ้มในความคิดสร้างสรรค์ ขณะเดียวกันก็ชื่นชมความหัวไวต่อสถานการณ์อันยากลำบาก

82เมื่อประเทศอยู่ในสภาวะวิกฤต หลายครั้งที่เราเห็นคนไทยพยายามแก้ปัญหาเฉพาะหน้าด้วยวิธีเอาตัวรอดที่หลากหลายและ ‘ครีเอทีฟ’ อย่างตอนเหตุการณ์น้ำท่วมใหญ่ เราเคยเห็นประชาชนเอาเก้าอี้มาทำเป็นรองเท้าสำหรับเดินในที่ที่น้ำท่วมขัง หรือสร้างเรือจากวัสดุเหลือใช้อย่างขวดน้ำ ภาพเหล่านี้ชวนให้เราประหลาดใจและแอบอมยิ้มในความคิดสร้างสรรค์ ขณะเดียวกันก็ชื่นชมความหัวไวต่อสถานการณ์อันยากลำบาก

9

91เมื่อประเทศอยู่ในสภาวะวิกฤต หลายครั้งที่เราเห็นคนไทยพยายามแก้ปัญหาเฉพาะหน้าด้วยวิธีเอาตัวรอดที่หลากหลายและ ‘ครีเอทีฟ’ อย่างตอนเหตุการณ์น้ำท่วมใหญ่ เราเคยเห็นประชาชนเอาเก้าอี้มาทำเป็นรองเท้าสำหรับเดินในที่ที่น้ำท่วมขัง หรือสร้างเรือจากวัสดุเหลือใช้อย่างขวดน้ำ ภาพเหล่านี้ชวนให้เราประหลาดใจและแอบอมยิ้มในความคิดสร้างสรรค์ ขณะเดียวกันก็ชื่นชมความหัวไวต่อสถานการณ์อันยากลำบาก

92เมื่อประเทศอยู่ในสภาวะวิกฤต หลายครั้งที่เราเห็นคนไทยพยายามแก้ปัญหาเฉพาะหน้าด้วยวิธีเอาตัวรอดที่หลากหลายและ ‘ครีเอทีฟ’ อย่างตอนเหตุการณ์น้ำท่วมใหญ่ เราเคยเห็นประชาชนเอาเก้าอี้มาทำเป็นรองเท้าสำหรับเดินในที่ที่น้ำท่วมขัง หรือสร้างเรือจากวัสดุเหลือใช้อย่างขวดน้ำ ภาพเหล่านี้ชวนให้เราประหลาดใจและแอบอมยิ้มในความคิดสร้างสรรค์ ขณะเดียวกันก็ชื่นชมความหัวไวต่อสถานการณ์อันยากลำบาก

10

101เมื่อประเทศอยู่ในสภาวะวิกฤต หลายครั้งที่เราเห็นคนไทยพยายามแก้ปัญหาเฉพาะหน้าด้วยวิธีเอาตัวรอดที่หลากหลายและ ‘ครีเอทีฟ’ อย่างตอนเหตุการณ์น้ำท่วมใหญ่ เราเคยเห็นประชาชนเอาเก้าอี้มาทำเป็นรองเท้าสำหรับเดินในที่ที่น้ำท่วมขัง หรือสร้างเรือจากวัสดุเหลือใช้อย่างขวดน้ำ ภาพเหล่านี้ชวนให้เราประหลาดใจและแอบอมยิ้มในความคิดสร้างสรรค์ ขณะเดียวกันก็ชื่นชมความหัวไวต่อสถานการณ์อันยากลำบาก

102เมื่อประเทศอยู่ในสภาวะวิกฤต หลายครั้งที่เราเห็นคนไทยพยายามแก้ปัญหาเฉพาะหน้าด้วยวิธีเอาตัวรอดที่หลากหลายและ ‘ครีเอทีฟ’ อย่างตอนเหตุการณ์น้ำท่วมใหญ่ เราเคยเห็นประชาชนเอาเก้าอี้มาทำเป็นรองเท้าสำหรับเดินในที่ที่น้ำท่วมขัง หรือสร้างเรือจากวัสดุเหลือใช้อย่างขวดน้ำ ภาพเหล่านี้ชวนให้เราประหลาดใจและแอบอมยิ้มในความคิดสร้างสรรค์ ขณะเดียวกันก็ชื่นชมความหัวไวต่อสถานการณ์อันยากลำบาก

11

111เมื่อประเทศอยู่ในสภาวะวิกฤต หลายครั้งที่เราเห็นคนไทยพยายามแก้ปัญหาเฉพาะหน้าด้วยวิธีเอาตัวรอดที่หลากหลายและ ‘ครีเอทีฟ’ อย่างตอนเหตุการณ์น้ำท่วมใหญ่ เราเคยเห็นประชาชนเอาเก้าอี้มาทำเป็นรองเท้าสำหรับเดินในที่ที่น้ำท่วมขัง หรือสร้างเรือจากวัสดุเหลือใช้อย่างขวดน้ำ ภาพเหล่านี้ชวนให้เราประหลาดใจและแอบอมยิ้มในความคิดสร้างสรรค์ ขณะเดียวกันก็ชื่นชมความหัวไวต่อสถานการณ์อันยากลำบาก

112เมื่อประเทศอยู่ในสภาวะวิกฤต หลายครั้งที่เราเห็นคนไทยพยายามแก้ปัญหาเฉพาะหน้าด้วยวิธีเอาตัวรอดที่หลากหลายและ ‘ครีเอทีฟ’ อย่างตอนเหตุการณ์น้ำท่วมใหญ่ เราเคยเห็นประชาชนเอาเก้าอี้มาทำเป็นรองเท้าสำหรับเดินในที่ที่น้ำท่วมขัง หรือสร้างเรือจากวัสดุเหลือใช้อย่างขวดน้ำ ภาพเหล่านี้ชวนให้เราประหลาดใจและแอบอมยิ้มในความคิดสร้างสรรค์ ขณะเดียวกันก็ชื่นชมความหัวไวต่อสถานการณ์อันยากลำบาก

12

121เมื่อประเทศอยู่ในสภาวะวิกฤต หลายครั้งที่เราเห็นคนไทยพยายามแก้ปัญหาเฉพาะหน้าด้วยวิธีเอาตัวรอดที่หลากหลายและ ‘ครีเอทีฟ’ อย่างตอนเหตุการณ์น้ำท่วมใหญ่ เราเคยเห็นประชาชนเอาเก้าอี้มาทำเป็นรองเท้าสำหรับเดินในที่ที่น้ำท่วมขัง หรือสร้างเรือจากวัสดุเหลือใช้อย่างขวดน้ำ ภาพเหล่านี้ชวนให้เราประหลาดใจและแอบอมยิ้มในความคิดสร้างสรรค์ ขณะเดียวกันก็ชื่นชมความหัวไวต่อสถานการณ์อันยากลำบาก

122เมื่อประเทศอยู่ในสภาวะวิกฤต หลายครั้งที่เราเห็นคนไทยพยายามแก้ปัญหาเฉพาะหน้าด้วยวิธีเอาตัวรอดที่หลากหลายและ ‘ครีเอทีฟ’ อย่างตอนเหตุการณ์น้ำท่วมใหญ่ เราเคยเห็นประชาชนเอาเก้าอี้มาทำเป็นรองเท้าสำหรับเดินในที่ที่น้ำท่วมขัง หรือสร้างเรือจากวัสดุเหลือใช้อย่างขวดน้ำ ภาพเหล่านี้ชวนให้เราประหลาดใจและแอบอมยิ้มในความคิดสร้างสรรค์ ขณะเดียวกันก็ชื่นชมความหัวไวต่อสถานการณ์อันยากลำบาก

13

131เมื่อประเทศอยู่ในสภาวะวิกฤต หลายครั้งที่เราเห็นคนไทยพยายามแก้ปัญหาเฉพาะหน้าด้วยวิธีเอาตัวรอดที่หลากหลายและ ‘ครีเอทีฟ’ อย่างตอนเหตุการณ์น้ำท่วมใหญ่ เราเคยเห็นประชาชนเอาเก้าอี้มาทำเป็นรองเท้าสำหรับเดินในที่ที่น้ำท่วมขัง หรือสร้างเรือจากวัสดุเหลือใช้อย่างขวดน้ำ ภาพเหล่านี้ชวนให้เราประหลาดใจและแอบอมยิ้มในความคิดสร้างสรรค์ ขณะเดียวกันก็ชื่นชมความหัวไวต่อสถานการณ์อันยากลำบาก

132เมื่อประเทศอยู่ในสภาวะวิกฤต หลายครั้งที่เราเห็นคนไทยพยายามแก้ปัญหาเฉพาะหน้าด้วยวิธีเอาตัวรอดที่หลากหลายและ ‘ครีเอทีฟ’ อย่างตอนเหตุการณ์น้ำท่วมใหญ่ เราเคยเห็นประชาชนเอาเก้าอี้มาทำเป็นรองเท้าสำหรับเดินในที่ที่น้ำท่วมขัง หรือสร้างเรือจากวัสดุเหลือใช้อย่างขวดน้ำ ภาพเหล่านี้ชวนให้เราประหลาดใจและแอบอมยิ้มในความคิดสร้างสรรค์ ขณะเดียวกันก็ชื่นชมความหัวไวต่อสถานการณ์อันยากลำบาก

14

141เมื่อประเทศอยู่ในสภาวะวิกฤต หลายครั้งที่เราเห็นคนไทยพยายามแก้ปัญหาเฉพาะหน้าด้วยวิธีเอาตัวรอดที่หลากหลายและ ‘ครีเอทีฟ’ อย่างตอนเหตุการณ์น้ำท่วมใหญ่ เราเคยเห็นประชาชนเอาเก้าอี้มาทำเป็นรองเท้าสำหรับเดินในที่ที่น้ำท่วมขัง หรือสร้างเรือจากวัสดุเหลือใช้อย่างขวดน้ำ ภาพเหล่านี้ชวนให้เราประหลาดใจและแอบอมยิ้มในความคิดสร้างสรรค์ ขณะเดียวกันก็ชื่นชมความหัวไวต่อสถานการณ์อันยากลำบาก

142เมื่อประเทศอยู่ในสภาวะวิกฤต หลายครั้งที่เราเห็นคนไทยพยายามแก้ปัญหาเฉพาะหน้าด้วยวิธีเอาตัวรอดที่หลากหลายและ ‘ครีเอทีฟ’ อย่างตอนเหตุการณ์น้ำท่วมใหญ่ เราเคยเห็นประชาชนเอาเก้าอี้มาทำเป็นรองเท้าสำหรับเดินในที่ที่น้ำท่วมขัง หรือสร้างเรือจากวัสดุเหลือใช้อย่างขวดน้ำ ภาพเหล่านี้ชวนให้เราประหลาดใจและแอบอมยิ้มในความคิดสร้างสรรค์ ขณะเดียวกันก็ชื่นชมความหัวไวต่อสถานการณ์อันยากลำบาก

15

151เมื่อประเทศอยู่ในสภาวะวิกฤต หลายครั้งที่เราเห็นคนไทยพยายามแก้ปัญหาเฉพาะหน้าด้วยวิธีเอาตัวรอดที่หลากหลายและ ‘ครีเอทีฟ’ อย่างตอนเหตุการณ์น้ำท่วมใหญ่ เราเคยเห็นประชาชนเอาเก้าอี้มาทำเป็นรองเท้าสำหรับเดินในที่ที่น้ำท่วมขัง หรือสร้างเรือจากวัสดุเหลือใช้อย่างขวดน้ำ ภาพเหล่านี้ชวนให้เราประหลาดใจและแอบอมยิ้มในความคิดสร้างสรรค์ ขณะเดียวกันก็ชื่นชมความหัวไวต่อสถานการณ์อันยากลำบาก

152เมื่อประเทศอยู่ในสภาวะวิกฤต หลายครั้งที่เราเห็นคนไทยพยายามแก้ปัญหาเฉพาะหน้าด้วยวิธีเอาตัวรอดที่หลากหลายและ ‘ครีเอทีฟ’ อย่างตอนเหตุการณ์น้ำท่วมใหญ่ เราเคยเห็นประชาชนเอาเก้าอี้มาทำเป็นรองเท้าสำหรับเดินในที่ที่น้ำท่วมขัง หรือสร้างเรือจากวัสดุเหลือใช้อย่างขวดน้ำ ภาพเหล่านี้ชวนให้เราประหลาดใจและแอบอมยิ้มในความคิดสร้างสรรค์ ขณะเดียวกันก็ชื่นชมความหัวไวต่อสถานการณ์อันยากลำบาก

16

161เมื่อประเทศอยู่ในสภาวะวิกฤต หลายครั้งที่เราเห็นคนไทยพยายามแก้ปัญหาเฉพาะหน้าด้วยวิธีเอาตัวรอดที่หลากหลายและ ‘ครีเอทีฟ’ อย่างตอนเหตุการณ์น้ำท่วมใหญ่ เราเคยเห็นประชาชนเอาเก้าอี้มาทำเป็นรองเท้าสำหรับเดินในที่ที่น้ำท่วมขัง หรือสร้างเรือจากวัสดุเหลือใช้อย่างขวดน้ำ ภาพเหล่านี้ชวนให้เราประหลาดใจและแอบอมยิ้มในความคิดสร้างสรรค์ ขณะเดียวกันก็ชื่นชมความหัวไวต่อสถานการณ์อันยากลำบาก

162เมื่อประเทศอยู่ในสภาวะวิกฤต หลายครั้งที่เราเห็นคนไทยพยายามแก้ปัญหาเฉพาะหน้าด้วยวิธีเอาตัวรอดที่หลากหลายและ ‘ครีเอทีฟ’ อย่างตอนเหตุการณ์น้ำท่วมใหญ่ เราเคยเห็นประชาชนเอาเก้าอี้มาทำเป็นรองเท้าสำหรับเดินในที่ที่น้ำท่วมขัง หรือสร้างเรือจากวัสดุเหลือใช้อย่างขวดน้ำ ภาพเหล่านี้ชวนให้เราประหลาดใจและแอบอมยิ้มในความคิดสร้างสรรค์ ขณะเดียวกันก็ชื่นชมความหัวไวต่อสถานการณ์อันยากลำบาก

17

171เมื่อประเทศอยู่ในสภาวะวิกฤต หลายครั้งที่เราเห็นคนไทยพยายามแก้ปัญหาเฉพาะหน้าด้วยวิธีเอาตัวรอดที่หลากหลายและ ‘ครีเอทีฟ’ อย่างตอนเหตุการณ์น้ำท่วมใหญ่ เราเคยเห็นประชาชนเอาเก้าอี้มาทำเป็นรองเท้าสำหรับเดินในที่ที่น้ำท่วมขัง หรือสร้างเรือจากวัสดุเหลือใช้อย่างขวดน้ำ ภาพเหล่านี้ชวนให้เราประหลาดใจและแอบอมยิ้มในความคิดสร้างสรรค์ ขณะเดียวกันก็ชื่นชมความหัวไวต่อสถานการณ์อันยากลำบาก

172เมื่อประเทศอยู่ในสภาวะวิกฤต หลายครั้งที่เราเห็นคนไทยพยายามแก้ปัญหาเฉพาะหน้าด้วยวิธีเอาตัวรอดที่หลากหลายและ ‘ครีเอทีฟ’ อย่างตอนเหตุการณ์น้ำท่วมใหญ่ เราเคยเห็นประชาชนเอาเก้าอี้มาทำเป็นรองเท้าสำหรับเดินในที่ที่น้ำท่วมขัง หรือสร้างเรือจากวัสดุเหลือใช้อย่างขวดน้ำ ภาพเหล่านี้ชวนให้เราประหลาดใจและแอบอมยิ้มในความคิดสร้างสรรค์ ขณะเดียวกันก็ชื่นชมความหัวไวต่อสถานการณ์อันยากลำบาก

18

181เมื่อประเทศอยู่ในสภาวะวิกฤต หลายครั้งที่เราเห็นคนไทยพยายามแก้ปัญหาเฉพาะหน้าด้วยวิธีเอาตัวรอดที่หลากหลายและ ‘ครีเอทีฟ’ อย่างตอนเหตุการณ์น้ำท่วมใหญ่ เราเคยเห็นประชาชนเอาเก้าอี้มาทำเป็นรองเท้าสำหรับเดินในที่ที่น้ำท่วมขัง หรือสร้างเรือจากวัสดุเหลือใช้อย่างขวดน้ำ ภาพเหล่านี้ชวนให้เราประหลาดใจและแอบอมยิ้มในความคิดสร้างสรรค์ ขณะเดียวกันก็ชื่นชมความหัวไวต่อสถานการณ์อันยากลำบาก

182เมื่อประเทศอยู่ในสภาวะวิกฤต หลายครั้งที่เราเห็นคนไทยพยายามแก้ปัญหาเฉพาะหน้าด้วยวิธีเอาตัวรอดที่หลากหลายและ ‘ครีเอทีฟ’ อย่างตอนเหตุการณ์น้ำท่วมใหญ่ เราเคยเห็นประชาชนเอาเก้าอี้มาทำเป็นรองเท้าสำหรับเดินในที่ที่น้ำท่วมขัง หรือสร้างเรือจากวัสดุเหลือใช้อย่างขวดน้ำ ภาพเหล่านี้ชวนให้เราประหลาดใจและแอบอมยิ้มในความคิดสร้างสรรค์ ขณะเดียวกันก็ชื่นชมความหัวไวต่อสถานการณ์อันยากลำบาก

AUTHOR

PHOTOGRAPHER

erdy

นักวาดภาพประกอบคนหนึ่งที่มีความใฝ่ฝันว่าจะรวย จะรวย จะรวย