toxic relationship

มะเฟือง–เรืองริน อักษรานุเคราะห์
ทำไมเรารักคนคนหนึ่งมากแต่ไม่เทิร์นออนกับเขา? เพราะอะไรเราถึงเลือกแฟนที่มีนิสัยเหมือนพ่อแม่? ทำไมคนที่รู้ตัวว่ากำลังอยู่ในความสัมพันธ์ที่ toxic ถึงก้าวออกมาไม่ได้สักที?
ใน Sex is More EP.11 ลูกแก้ว โชติรส อยากชวนทุกคนสำรวจชีวิตเซ็กซ์และความสัมพันธ์กับ ‘มะเฟือง–เรืองริน อักษรานุเคราะห์’ นักจิตบำบัดเจ้าของเพจ Beautiful Madness by Mafuang ที่เชื่อว่าการดูแลสุขภาพใจสำคัญพอๆ กับสุขภาพกาย
เธอยังเปิดบริการให้คำปรึกษาด้านจิตใจแก่คนทั่วไปโดยเน้นความสนใจพิเศษไปที่กลุ่มคนที่โดนทำร้ายร่างกายและจิตใจ มีปัญหาความสัมพันธ์ รวมไปถึงคนที่โดนลวนลามทางเพศ ด้วยความหวังว่าอยากเป็นเพื่อนคอยรับฟังคนที่ผ่านประสบการณ์มาคล้ายๆ กับเธอ
ไม่ต่างจากประสบการณ์เลวร้ายอื่นๆ ในชีวิต เซ็กซ์และความสัมพันธ์สร้างความบอบช้ำทางจิตใจได้เช่นกัน ใน EP นี้ ลูกแก้วกับมะเฟืองไม่เพียงชวนคุยเรื่องประสบการณ์เซ็กซ์อันเลวร้ายหรือการล่วงละเมิดทางเพศที่ไม่ว่าเพศไหน อายุเท่าไหร่ก็มีโอกาสโดน แต่ยังมีเซสชั่นชวนถกปัญหาความสัมพันธ์สุดฮิตที่คนยุคนี้เจอ เช่น การให้คำปรึกษาเรื่องความรักกับเพื่อนยังไงไม่ให้ ‘เป็นหมา’ การสำรวจตัวเองว่ากำลังอยู่ใน toxic relationship ไหม ไปจนถึงตอบคำถามสำคัญว่าถ้าเรายังมูฟออนจากความรักหรือเซ็กซ์อันเลวร้ายไม่ได้ เราจะอยู่กับมันยังไงให้เฮลตี้และมีความหวังที่สุด
เพราะเรื่องเพศไม่ใช่แค่การสอดใส่ แต่อาจส่งผลกระทบต่อใครบางคนไปตลอดชีวิต




1
Sex is More เปิดศักราชใหม่ด้วยการพาคุณผู้ฟังไปเปิดโลกของ I ตัวอักษรสุดลึกลับใน LGBTQIA+ ซึ่งย่อมาจาก Intersex หรือ ‘เพศกำกวม’ คำที่หลายคนอาจคุ้นๆ ว่ามันคือภาวะการมีอวัยวะเพศชายและหญิงอยู่ในร่างเดียวกันลบภาพจำนั้นไปก่อน เพราะอินเตอร์เซ็กซ์มีมิติที่หลากหลายและซับซ้อนมากกว่านั้น ใน EP นี้ ลูกแก้ว โชติรส โฮสต์ของเราพาไปคุยกับ ‘นาดา ไชยจิตต์’ นักกฎหมายและนักรณรงค์เพื่อสิทธิ LGBTQIA+ ผู้นิยามตัวเองว่าเป็น ‘อินเตอร์เซ็กซ์-ข้ามเพศ’ ที่เกิดมาพร้อมกับอวัยวะเพศชายที่เล็กมาก มีท่อปัสสาวะอยู่ด้านใต้แทนที่จะอยู่ตรงกลาง และมีถุงอัณฑะขนาดเล็กที่ราบเรียบจนเหมือนแคมของเพศหญิงประสานติดกัน
ตั้งแต่เด็ก นาดาเข้าใจว่าตัวเองเป็นผู้หญิงแต่กลับถูกจับใส่กล่องเพศชาย พอเติบโตขึ้น สังคม LGBTQIA+ ก็บอกว่าเธอไม่เหมือน ‘กะเทย’ ในภาพจำของคนทั่วไป ยังไม่นับความจริงที่ว่า ทุกครั้งที่จะมีเซ็กซ์กับคู่เดต แทนที่จะฟินแต่เธอกลับรู้สึกอึดอัดและตั้งคำถาม หลายต่อหลายปีนาดาผ่านกระบวนการรื้อค้นตัวเองซ้ำแล้วซ้ำเล่า ทั้งการนิยามว่าอยากเรียกตัวเองว่าเพศอะไร ชอบเพศไหน และแน่นอน–คนแบบไหนที่จะมีเซ็กซ์ได้อย่างสบายใจโดยที่เธอไม่รู้สึกว่าถูกตัดสิน
กว่าจะเจอจุดที่เอนจอยในเรื่องเซ็กซ์ เธอต้องผ่านการทดลองมาไม่ต่างจากทุกความกำกวมในชีวิต
Sex is More เปิดศักราชใหม่ด้วยการพาคุณผู้ฟังไปเปิดโลกของ I ตัวอักษรสุดลึกลับใน LGBTQIA+ ซึ่งย่อมาจาก Intersex หรือ ‘เพศกำกวม’ คำที่หลายคนอาจคุ้นๆ ว่ามันคือภาวะการมีอวัยวะเพศชายและหญิงอยู่ในร่างเดียวกันลบภาพจำนั้นไปก่อน เพราะอินเตอร์เซ็กซ์มีมิติที่หลากหลายและซับซ้อนมากกว่านั้น ใน EP นี้ ลูกแก้ว LGBTQIA+ ผู้นิยามตัวเองว่าเป็น ‘อินเตอร์เซ็กซ์-ข้ามเพศ’ ที่เกิดมาพร้อมกับอวัยวะเพศชายที่เล็กมาก มีท่อปัสสาวะอยู่ด้านใต้แทนที่จะอยู่ตรงกลางตั้งแต่เด็ก นาดาเข้าใจว่าตัวเองเป็นผู้หญิงแต่กลับถูกจับใส่กล่องเพศชาย พอเติบโตขึ้น สังคม LGBTQIA+ ก็บอกว่าเธอไม่เหมือน ‘กะเทย’ ในภาพจำของคนทั่วไป ยังไม่นับความจริงที่ว่า ทุกครั้งที่จะมีเซ็กซ์กับคู่เดต แทนที่จะฟินแต่เธอกลับรู้สึกอึดอัดและตั้งคำถาม หลายต่อหลายปีนาดาผ่านกระบวนการรื้อค้นตัวเองซ้ำแล้วซ้ำเล่า ทั้งการนิยามว่าอยากเรียกตัวเองว่าเพศอะไร ชอบเพศไหน และแน่นอน–คนแบบไหนที่จะมีเซ็กซ์ได้อย่างสบายใจโดยที่เธอไม่รู้สึกว่าถูกตัดสิน
กว่าจะเจอจุดที่เอนจอยในเรื่องเซ็กซ์ เธอต้องผ่านการทดลองมาไม่ต่างจากทุกความกำกวมในชีวิต
Sex is More เปิดศักราชใหม่ด้วยการพาคุณผู้ฟังไปเปิดโลกของ I ตัวอักษรสุดลึกลับใน LGBTQIA+ ซึ่งย่อมาจาก Intersex หรือ ‘เพศกำกวม’ คำที่หลายคนอาจคุ้นๆ ว่ามันคือภาวะการมีอวัยวะเพศชายและหญิงอยู่ในร่างเดียวกันลบภาพจำนั้นไปก่อน โชติรส โฮสต์ของเราพาไปคุยกับ ‘นาดา ไชยจิตต์’ นักกฎหมายและนักรณรงค์เพื่อสิทธิ LGBTQIA+ ผู้นิยามตัวเองว่าเป็น ‘อินเตอร์เซ็กซ์-ข้ามเพศ’ ที่เกิดมาพร้อมกับอวัยวะเพศชายที่เล็กมาก มีท่อปัสสาวะอยู่ด้านใต้แทนที่จะอยู่ตรงกลางตั้งแต่เด็ก นาดาเข้าใจว่าตัวเองเป็นผู้หญิงแต่กลับถูกจับใส่กล่องเพศชาย พอเติบโตขึ้น สังคม LGBTQIA+ ก็บอกว่าเธอไม่เหมือน ‘กะเทย’ ในภาพจำของคนทั่วไป ยังไม่นับความจริงที่ว่า ทุกครั้งที่จะมีเซ็กซ์กับคู่เดต แทนที่จะฟินแต่เธอกลับรู้สึกอึดอัดและตั้งคำถาม หลายต่อหลายปีนาดาผ่านกระบวนการรื้อค้นตัวเองซ้ำแล้วซ้ำเล่า ทั้งการนิยามว่าอยากเรียกตัวเองว่าเพศอะไร ชอบเพศไหน และแน่นอน–คนแบบไหนที่จะมีเซ็กซ์ได้อย่างสบายใจโดยที่เธอไม่รู้สึกว่าถูกตัดสินกว่าจะเจอจุดที่เอนจอยในเรื่องเซ็กซ์ เธอต้องผ่านการทดลองมาไม่ต่างจากทุกความกำกวมในชีวิต
toxic relationship
Sex is More เปิดศักราชใหม่ด้วยการพาคุณผู้ฟังไปเปิดโลกของ I ตัวอักษรสุดลึกลับใน LGBTQIA+ ซึ่งย่อมาจาก Intersex ลบภาพจำนั้น โชติรส โฮสต์ของเราพาไปคุยกับ ‘นาดา ไชยจิตต์’ นักกฎหมายและนักรณรงค์เพื่อสิทธิ LGBTQIA+ ผู้นิยามตัวเองว่าเป็น ‘อินเตอร์เซ็กซ์-ข้ามเพศ’ ตั้งแต่เด็ก นาดาเข้าใจว่าตัวเองเป็นผู้หญิงแต่กลับถูกจับใส่กล่องเพศชาย พอเติบโตขึ้น สังคม LGBTQIA+ ก็บอกว่าเธอไม่เหมือน ‘กะเทย’ ในภาพจำของคนทั่วไป ยังไม่นับความจริงที่ว่า ทุกครั้งที่จะมีเซ็กซ์กับคู่เดต แทนที่จะฟินแต่เธอกลับรู้สึกอึดอัดและตั้งคำถาม หลายต่อหลายปีนาดาผ่านกระบวนการรื้อค้นตัวเองซ้ำแล้วซ้ำเล่า ทั้งการนิยามว่าอยากเรียกตัวเองว่าเพศอะไร ชอบเพศไหน และแน่นอน–คนแบบไหนที่จะมีเซ็กซ์ได้อย่างสบายใจโดยที่เธอไม่รู้สึกว่าถูกตัดสิน
กว่าจะเจอจุดที่เอนจอยในเรื่องเซ็กซ์ เธอต้องผ่านการทดลองมาไม่ต่างจากทุกความกำกวมในชีวิต
toxic relationship
Sex is More เปิดศักราชใหม่ด้วยการพาคุณผู้ฟังไปเปิดโลกของ I ตัวอักษรสุดลึกลับใน LGBTQIA+ ซึ่งย่อมาจาก Intersex หรือ ‘เพศกำกวม’ คำที่หลายคนอาจคุ้นๆ ว่ามันคือภาวะการมีอวัยวะเพศชายและหญิงอยู่ในร่างเดียวกันลบภาพจำนั้นไปก่อน เพราะอินเตอร์เซ็กซ์มีมิติที่หลากหลายและซับซ้อนมากกว่านั้น ใน EP นี้ ลูกแก้ว โชติรส โฮสต์ของเราพาไปคุยกับ ‘นาดา ไชยจิตต์’ นักกฎหมายและนักรณรงค์เพื่อสิทธิ LGBTQIA+ ผู้นิยามตัวเองว่าเป็น ‘อินเตอร์เซ็กซ์-ข้ามเพศ’ ที่เกิดมาพร้อมกับอวัยวะเพศชายที่เล็กมาก มีท่อปัสสาวะอยู่ด้านใต้แทนที่จะอยู่ตรงกลาง และมีถุงอัณฑะขนาดเล็กที่ราบเรียบจนเหมือนแคมของเพศหญิงประสานติดกัน
ตั้งแต่เด็ก นาดาเข้าใจว่าตัวเองเป็นผู้หญิงแต่กลับถูกจับใส่กล่องเพศชาย พอเติบโตขึ้น สังคม LGBTQIA+ ก็บอกว่าเธอไม่เหมือน ‘กะเทย’ ในภาพจำของคนทั่วไป ยังไม่นับความจริงที่ว่า แทนที่จะฟินแต่เธอกลับรู้สึกอึดอัดและตั้งคำถาม หลายต่อหลายปีนาดาผ่านกระบวนการรื้อค้นตัวเองซ้ำแล้วซ้ำเล่า ทั้งการนิยามว่าอยากเรียกตัวเองว่าเพศอะไร ชอบเพศไหน และแน่นอน–คนแบบไหนที่จะมีเซ็กซ์ได้อย่างสบายใจโดยที่เธอไม่รู้สึกว่าถูกตัดสิน
กว่าจะเจอจุดที่เอนจอยในเรื่องเซ็กซ์ เธอต้องผ่านการทดลองมาไม่ต่างจากทุกความกำกวมในชีวิต
น้องสาว
Sex is More เปิดศักราชใหม่ด้วยการพาคุณผู้ฟังไปเปิดโลกของ I ตัวอักษรสุดลึกลับใน LGBTQIA+ ซึ่งย่อมาจาก Intersex ใน EP นี้ ลูกแก้ว โชติรส โฮสต์ของเราพาไปคุยกับ ‘นาดา ไชยจิตต์’ นักกฎหมายและนักรณรงค์เพื่อสิทธิ LGBTQIA+ มีท่อปัสสาวะอยู่ด้านใต้แทนที่จะอยู่ตรงกลาง และมีถุงอัณฑะขนาดเล็กที่ราบเรียบจนเหมือนแคมของเพศหญิงประสานติดกัน
ตั้งแต่เด็ก นาดาเข้าใจว่าตัวเองเป็นผู้หญิงแต่กลับถูกจับใส่กล่องเพศชาย พอเติบโตขึ้น สังคม LGBTQIA+ ก็บอกว่าเธอไม่เหมือน ‘กะเทย’ ในภาพจำของคนทั่วไป ยังไม่นับความจริงที่ว่า ทุกครั้งที่จะมีเซ็กซ์กับคู่เดต แทนที่จะฟินแต่เธอกลับรู้สึกอึดอัดและตั้งคำถาม หลายต่อหลายปีนาดาผ่านกระบวนการรื้อค้นตัวเองซ้ำแล้วซ้ำเล่า ทั้งการนิยามว่าอยากเรียกตัวเองว่าเพศอะไร ชอบเพศไหน และแน่นอน–คนแบบไหนที่จะมีเซ็กซ์ได้อย่างสบายใจโดยที่เธอไม่รู้สึกว่าถูกตัดสิน
กว่าจะเจอจุดที่เอนจอยในเรื่องเซ็กซ์ เธอต้องผ่านการทดลองมาไม่ต่างจากทุกความกำกวมในชีวิต